ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่, ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ. บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา(6) ชนิดใดชนิดหนึ่ง( ) มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
ป.ล.
.... ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร ในธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสัย)”,ล
(เมื่อไม่ได้สังเกต(หรือความจงใจ). มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ .เป็นหนึ่งเดียว(สัจธรรม)
เพราะเราเห็น (อริยสัจสี่) ได้ด้วยปัญญา.)(?)
(ความ.เป็นเช่นนั้นเอง.
יהוה หรือ YHWH (Why?)(What?)(Where?)(Who?)
. (ข้อความทั้งหมดนี้ สรุปความว่า :-
๑. อดีตกามสัญญา ที่ปฐมฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงเอยู่ใน ปฐมฌาน,
๒. อดีตวิตักกธัมมสัญญา ที่ทุติยฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงเอยู่ใน ทุติยฌาน.
๓. อดีตปีติสัญญา ที่ตติยฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน ตติยฌาน.
๔. อดีตอุเปกขาสัญญา ที่จตุตถฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน จตุตถฌาน.
๕. อดีตรูปสัญญา ที่อากาสานัญจายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน อากาสานัญจายตนฌาน.
๖. อดีตอากาสานัญจายตนสัญญา ที่วิญญาณัญจายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ในวิญญาณัญจายตนฌาน.
๗. อดีตวิญญาณัญจายตนสัญญา ที่อากิญจัญญายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงเอยู่ใน อากิญจัญญายตนฌาน.
๘. อดีตอากิญจัญญายตนสัญญา ที่เนวสัญญานาสัญญายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน.
๙. อดีตเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ที่ระงับไปแล้วเพราะสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่อาจมาเป็นอาพาธ แก่การเข้าอยู่ใน สัญญาเวทยิตนิโรธ). (ไม่มีอาพาธอะไร ๆ อีกต่อไป )(4.)
👁7 .วิญญาณฐิติ
- นวก. อํ. ๒๓/๔๕๗/๒๔๕.
ปัญญาสติกับนามรูปดับเพราะวิญญาณดับ
“ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ ! ข้าพระองค์กราบทูลถามแล้ว ขอพระองค์ จงตรัสบอกธรรมนั้น คือปัญญาและสติกับนามรูป แก่ข้าพระองค์เถิด ; ปัญญาและสติกับนามรูปนั้นจะดับไปในที่ไหน ?
ดูก่อนอชิตะ ! ท่านถามปัญหานั้นข้อใด เราจะแก้ปัญหา ข้อนั้นแก่ท่าน : นามและรูป ย่อมดับไม่เหลือ ในที่ใด, ปัญญาและสติกับนามรูปนั้นก็ย่อมดับในที่นั้น, เพราะความดับไปแห่งวิญญาณ แล.
- สุตฺต. ขุ. ๒๕/๕๓๐/๔๒๕.
- จูฬนิ. ขุ. ๓๐/๒๐-๒๑/๘๐,๗๕.
เปรียบเหมือนเห็นโลกมีค่าเท่ากับหญ้าแห้งไป:-
เมื่อเห็นสิ่งทั้งปวงถูกต้องตามเป็นจริง ว่าเป็นเพียงการเกิดขึ้นของธรรมชาติล้วน ๆ ว่าเป็นเพียงการสืบเนื่องกันเป็นสาย ของสิ่งที่มีปัจจัยปรุงต่อ ๆ กันมาล้วน ๆ, แล้วความกลัวย่อมไม่มี.
เมื่อใดเห็นด้วยปัญญา ว่าโลกนี้ไม่มีค่าอะไรมากไปกว่าเศษหญ้าเศษไม้,
เมื่อนั้นเขาย่อมไม่ปรารถนาสิ่งใด ๆ นอกจาก “ สิ่งที่ไม่มีการเกิดใหม่อีกต่อไป” ดังนี้แล.
- จูฬนิ. ขุ. ๓๐/๒๕๓/๕๐๕. (เถรภาษิตขยายความ.)
เปรียบเหมือนวงกลมหยุดหมุน🌏 :-
ตัด “วงกลม” แยกขาดจากกัน ก็ลุถึงสภาพแห่งความไม่มีอะไรเป็นที่จำนงหวัง. ตัณหาที่ไหลซ่าน เมื่อถูกทำให้แห้งสนิทแล้วก็ไหลไม่ได้. วงกลมถูกตัดแล้ว (เช่นนี้) ก็หมุนไม่ได้อีกต่อไป. นั่นแหละ คือ ที่สุดแห่งทุกข์ ละ. ①
- อุ. ขุ. ๒๕/๑๙๙/๑๔๘. (เถรภาษิตขยายความ.)
🌀. ไม่มีการไปก็ไม่มีการมา
ว่าด้วย อุปมาแห่งสัญญา......
เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา(6) ชนิดใดชนิดหนึ่ง( ) มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่, สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
ป.ล.
.... ไม่ต้องกล่าวว่า “นี่อะไร นี่อย่างไร ในธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสัย)”,ล
(เมื่อไม่ได้สังเกต(หรือความจงใจ). มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ .เป็นหนึ่งเดียว(สัจธรรม)
เพราะเราเห็น (อริยสัจสี่) ได้ด้วยปัญญา.)(?)
(ความ.เป็นเช่นนั้นเอง.
יהוה หรือ YHWH (Why?)(What?)(Where?)(Who?)
. (ข้อความทั้งหมดนี้ สรุปความว่า :-
๑. อดีตกามสัญญา ที่ปฐมฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงเอยู่ใน ปฐมฌาน,
๒. อดีตวิตักกธัมมสัญญา ที่ทุติยฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงเอยู่ใน ทุติยฌาน.
๓. อดีตปีติสัญญา ที่ตติยฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน ตติยฌาน.
๔. อดีตอุเปกขาสัญญา ที่จตุตถฌานละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน จตุตถฌาน.
๕. อดีตรูปสัญญา ที่อากาสานัญจายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน อากาสานัญจายตนฌาน.
๖. อดีตอากาสานัญจายตนสัญญา ที่วิญญาณัญจายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ในวิญญาณัญจายตนฌาน.
๗. อดีตวิญญาณัญจายตนสัญญา ที่อากิญจัญญายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงเอยู่ใน อากิญจัญญายตนฌาน.
๘. อดีตอากิญจัญญายตนสัญญา ที่เนวสัญญานาสัญญายตนะละแล้ว จะ มาคอยเป็นอาพาธ แก่การแทรกแซงอยู่ใน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน.
๙. อดีตเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ที่ระงับไปแล้วเพราะสัญญาเวทยิตนิโรธ ไม่อาจมาเป็นอาพาธ แก่การเข้าอยู่ใน สัญญาเวทยิตนิโรธ). (ไม่มีอาพาธอะไร ๆ อีกต่อไป )(4.)
👁7 .วิญญาณฐิติ
- นวก. อํ. ๒๓/๔๕๗/๒๔๕.
ปัญญาสติกับนามรูปดับเพราะวิญญาณดับ
“ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ ! ข้าพระองค์กราบทูลถามแล้ว ขอพระองค์ จงตรัสบอกธรรมนั้น คือปัญญาและสติกับนามรูป แก่ข้าพระองค์เถิด ; ปัญญาและสติกับนามรูปนั้นจะดับไปในที่ไหน ?
ดูก่อนอชิตะ ! ท่านถามปัญหานั้นข้อใด เราจะแก้ปัญหา ข้อนั้นแก่ท่าน : นามและรูป ย่อมดับไม่เหลือ ในที่ใด, ปัญญาและสติกับนามรูปนั้นก็ย่อมดับในที่นั้น, เพราะความดับไปแห่งวิญญาณ แล.
- สุตฺต. ขุ. ๒๕/๕๓๐/๔๒๕.
- จูฬนิ. ขุ. ๓๐/๒๐-๒๑/๘๐,๗๕.
เปรียบเหมือนเห็นโลกมีค่าเท่ากับหญ้าแห้งไป:-
เมื่อเห็นสิ่งทั้งปวงถูกต้องตามเป็นจริง ว่าเป็นเพียงการเกิดขึ้นของธรรมชาติล้วน ๆ ว่าเป็นเพียงการสืบเนื่องกันเป็นสาย ของสิ่งที่มีปัจจัยปรุงต่อ ๆ กันมาล้วน ๆ, แล้วความกลัวย่อมไม่มี.
เมื่อใดเห็นด้วยปัญญา ว่าโลกนี้ไม่มีค่าอะไรมากไปกว่าเศษหญ้าเศษไม้,
เมื่อนั้นเขาย่อมไม่ปรารถนาสิ่งใด ๆ นอกจาก “ สิ่งที่ไม่มีการเกิดใหม่อีกต่อไป” ดังนี้แล.
- จูฬนิ. ขุ. ๓๐/๒๕๓/๕๐๕. (เถรภาษิตขยายความ.)
เปรียบเหมือนวงกลมหยุดหมุน🌏 :-
ตัด “วงกลม” แยกขาดจากกัน ก็ลุถึงสภาพแห่งความไม่มีอะไรเป็นที่จำนงหวัง. ตัณหาที่ไหลซ่าน เมื่อถูกทำให้แห้งสนิทแล้วก็ไหลไม่ได้. วงกลมถูกตัดแล้ว (เช่นนี้) ก็หมุนไม่ได้อีกต่อไป. นั่นแหละ คือ ที่สุดแห่งทุกข์ ละ. ①
- อุ. ขุ. ๒๕/๑๙๙/๑๔๘. (เถรภาษิตขยายความ.)
🌀. ไม่มีการไปก็ไม่มีการมา