ได้อ่านข้อเขียนตามภาพข้างล่างแล้วยังไม่เข้าใจดีเท่าไร อยากจะทราบว่ามันยังไงครับ
แยกประเด็นคือ
1.ประเด็นแรก ที่ว่าเมื่อต่อสาย N เข้า Ground bar ก่อนต่อไปที่ N ของเมนเบรคเกอร์แล้ว" ทำให้
กระแสลัดวงจรที่ไหลลงสายดินสามารถไหลย้อนกลับไปหม้อแปลงของการไฟฟ้าทางสายเส้นศูนย์ได้อีกทางหนึ่ง "
ตรงนี้สงสัยว่า 1. กระแสลัดวงจรมันลงสายดินไปแล้วมันใช้เส้นทางไหนวกกลับมาหาสาย N ได้อีกครับ
2. การที่กระแสลัดวงจรที่ไหลลงสายดินไปแล้วย้อนกลับมาสาย N แสดงว่า สาย N มีค่าความต่างศักดิ์
ต่ำกว่าสายดินหรือครับ ไม่ใช่เท่ากันคือ 0 หรือครับ
2.ประเด็นต่อมา ที่ว่า " อีกทั้งเป็นเส้นทางที่ไหลได้สะดวกกว่าการไหลลงดินเส้นทางเดียว " กล่าวเช่นนี้เกิดนัยยะว่า
การไหลของกระแสย้อนกลับลงสาย N มันสะดวกกว่าไหลลงสาย G มันสะดวกกว่ายังไงครับ ? ความต่างศักย์มันไม่เท่ากันหรือ ?
เหตุที่ทำให้สะดวกกว่าคืออะไร ?
หรือเขาเขียนผิด เขาจะเขียนว่า " ทำให้กระแสลัดวงจรสามารถไหลออกได้ถึงสองทางคือลงดินทางหนึ่ง ไหลกลับไปการไฟฟ้า
ได้อีกทางหนึ่ง ?
3.ประเด็นต่อมา " ทำให้กระแสลัดวงจรมีค่าสูงและเครื่องตัดกระแสลัดวงจร...สามารถตัดไฟออกได้อย่างรวดเร็ว คำถามคือ
กระแสลัดวงจรที่มีค่าสูงขึ้นหมายถึงกระแสที่ย้อนกลับมาในสาย N ใช่หรือไม่ แต่กระแสย้อนกลับมันก็ต้องย้อนกลับมาในสาย N
ก่อนไปสาย G บางส่วนอยู่แล้วมิใช่หรือ ? ย้อนกลับมาที่เมนเบรคเกอร์ก่อนถึงจะวิ่งไปที่จุดต่อร่วมที่ Ground Bar ?
4.ประเด็นสุดท้าย สงสัยว่า กระแสที่ไปกระตุ้นให้กลไกตัดทำงานมาจากตรงไหนครับ มาจากกระแสไฟย้อนกลับวิ่งมาทางสาย N
ผ่านจุด N ของเมนเบรคเกอร์ก่อนจะวิ่งไปที่ G บางส่วน ไปที่ เบรคเกอร์ลูกย่อยบางส่วน ใช่ไหมครับ ? แล้วต่อมา Ground bar
มันเลยจุดนั้นมาแล้วนี่ครับ ? มันจะไปช่วยเพิ่มค่าได้ยังไง ?
ท่านใดเข้าใจช่วยอธิบายด้วย ประเด็นต่อสาย N เข้า Ground bar
แยกประเด็นคือ
1.ประเด็นแรก ที่ว่าเมื่อต่อสาย N เข้า Ground bar ก่อนต่อไปที่ N ของเมนเบรคเกอร์แล้ว" ทำให้
กระแสลัดวงจรที่ไหลลงสายดินสามารถไหลย้อนกลับไปหม้อแปลงของการไฟฟ้าทางสายเส้นศูนย์ได้อีกทางหนึ่ง "
ตรงนี้สงสัยว่า 1. กระแสลัดวงจรมันลงสายดินไปแล้วมันใช้เส้นทางไหนวกกลับมาหาสาย N ได้อีกครับ
2. การที่กระแสลัดวงจรที่ไหลลงสายดินไปแล้วย้อนกลับมาสาย N แสดงว่า สาย N มีค่าความต่างศักดิ์
ต่ำกว่าสายดินหรือครับ ไม่ใช่เท่ากันคือ 0 หรือครับ
2.ประเด็นต่อมา ที่ว่า " อีกทั้งเป็นเส้นทางที่ไหลได้สะดวกกว่าการไหลลงดินเส้นทางเดียว " กล่าวเช่นนี้เกิดนัยยะว่า
การไหลของกระแสย้อนกลับลงสาย N มันสะดวกกว่าไหลลงสาย G มันสะดวกกว่ายังไงครับ ? ความต่างศักย์มันไม่เท่ากันหรือ ?
เหตุที่ทำให้สะดวกกว่าคืออะไร ?
หรือเขาเขียนผิด เขาจะเขียนว่า " ทำให้กระแสลัดวงจรสามารถไหลออกได้ถึงสองทางคือลงดินทางหนึ่ง ไหลกลับไปการไฟฟ้า
ได้อีกทางหนึ่ง ?
3.ประเด็นต่อมา " ทำให้กระแสลัดวงจรมีค่าสูงและเครื่องตัดกระแสลัดวงจร...สามารถตัดไฟออกได้อย่างรวดเร็ว คำถามคือ
กระแสลัดวงจรที่มีค่าสูงขึ้นหมายถึงกระแสที่ย้อนกลับมาในสาย N ใช่หรือไม่ แต่กระแสย้อนกลับมันก็ต้องย้อนกลับมาในสาย N
ก่อนไปสาย G บางส่วนอยู่แล้วมิใช่หรือ ? ย้อนกลับมาที่เมนเบรคเกอร์ก่อนถึงจะวิ่งไปที่จุดต่อร่วมที่ Ground Bar ?
4.ประเด็นสุดท้าย สงสัยว่า กระแสที่ไปกระตุ้นให้กลไกตัดทำงานมาจากตรงไหนครับ มาจากกระแสไฟย้อนกลับวิ่งมาทางสาย N
ผ่านจุด N ของเมนเบรคเกอร์ก่อนจะวิ่งไปที่ G บางส่วน ไปที่ เบรคเกอร์ลูกย่อยบางส่วน ใช่ไหมครับ ? แล้วต่อมา Ground bar
มันเลยจุดนั้นมาแล้วนี่ครับ ? มันจะไปช่วยเพิ่มค่าได้ยังไง ?