คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
วิศกรของการไฟฟ้าบอกกับผมว่า ....
เพื่อให้กระแสลัดวงจรมีค่ามากที่สุด เพื่อให้เบรกเกอร์ปลดวงจร ... ตังอย่างเช่น
เครื่องซักผ้า มอเตอร์ชำรุดมีไฟรั่ว ...
ถ้าบ้านนั้น "สายดินไม่ได้ต่อกับสาย N ที่ตู้โหลดเซนเตอร์" ... แยกต่อต่างหาก
กระแสที่ไฟที่รั่ว จะไหลผ่านสายดินไปยังหลักดิน ... ถ้าหลักดิน + สายต่อลงดินแน่นหนา ไฟจะไม่ดูดคน
แต่กระแสลัดวงจรอาจไม่มากพอที่จะทำให้เบรกเกอร์ปลดวงจรออก ... ขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่
การที่เบรกเกอร์ไม่ปลดวงจรนั้น ตัวปัญหาก็ยังอยู่ เพียงแต่รอวันสายดินขาดจึงจะมีผลครับ
ถ้าบ้านนั้น "สายดินต่อกับสาย N ที่ตู้โหลดเซนเตอร์" ...
กระแสที่ไฟที่รั่วจะไหลผ่านสายดินไปยังขั้วนิวตรอล + หลักดิน ...
ถ้าหลักดิน + สายต่อลงดินแน่นหนา ไฟจะไม่ดูดคน แต่กระแสลัดวงจรอาจมากพอที่จะทำให้เบรกเกอร์ปลดวงจรออก ...
เป็นการตัดปัญหาออกจากระบบ ... ถึงสายต่อลงดินหรือหลักดินจะไม่สมบูรณ์ ไฟก็ไม่ดูดคนครับ
ยกเว้นสายต่อลงดิน + หลักดินที่หม้อแปลงขาดด้วย อย่างนั้นก็ ตัวใครก็ตัวคนนั้นครับ ...
แต่ถ้าสายต่อลงดิน + หลักดินของบ้านนั้นดี ... ถึงสาย N ที่หม้อแปลงขาดก็ไม่มีปัญหาครับ ....
แต่ก็ไม่เชิงเสียทีเดียว เพราะถ้าบ้านอื่นไม่มีสายดินต่อกับ N ในตู้โหลดเซนเตอร์ กระแสทั้งหมดจะมาไหลลงดินที่บ้านนั้นครับ ...
ดังนั้นทุกบ้านควรช่วยกันต่อสายดินจะดีที่สุด อย่าไปคิดว่าเป็นการช่วยการไฟฟ้าลดขนาดสายนิวตรอล ...
แต่เป็นการเพิ่มความปลอดภัยให้ตัวท่านเองครับ ..
เพื่อให้กระแสลัดวงจรมีค่ามากที่สุด เพื่อให้เบรกเกอร์ปลดวงจร ... ตังอย่างเช่น
เครื่องซักผ้า มอเตอร์ชำรุดมีไฟรั่ว ...
ถ้าบ้านนั้น "สายดินไม่ได้ต่อกับสาย N ที่ตู้โหลดเซนเตอร์" ... แยกต่อต่างหาก
กระแสที่ไฟที่รั่ว จะไหลผ่านสายดินไปยังหลักดิน ... ถ้าหลักดิน + สายต่อลงดินแน่นหนา ไฟจะไม่ดูดคน
แต่กระแสลัดวงจรอาจไม่มากพอที่จะทำให้เบรกเกอร์ปลดวงจรออก ... ขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่
การที่เบรกเกอร์ไม่ปลดวงจรนั้น ตัวปัญหาก็ยังอยู่ เพียงแต่รอวันสายดินขาดจึงจะมีผลครับ
ถ้าบ้านนั้น "สายดินต่อกับสาย N ที่ตู้โหลดเซนเตอร์" ...
กระแสที่ไฟที่รั่วจะไหลผ่านสายดินไปยังขั้วนิวตรอล + หลักดิน ...
ถ้าหลักดิน + สายต่อลงดินแน่นหนา ไฟจะไม่ดูดคน แต่กระแสลัดวงจรอาจมากพอที่จะทำให้เบรกเกอร์ปลดวงจรออก ...
เป็นการตัดปัญหาออกจากระบบ ... ถึงสายต่อลงดินหรือหลักดินจะไม่สมบูรณ์ ไฟก็ไม่ดูดคนครับ
ยกเว้นสายต่อลงดิน + หลักดินที่หม้อแปลงขาดด้วย อย่างนั้นก็ ตัวใครก็ตัวคนนั้นครับ ...
แต่ถ้าสายต่อลงดิน + หลักดินของบ้านนั้นดี ... ถึงสาย N ที่หม้อแปลงขาดก็ไม่มีปัญหาครับ ....
แต่ก็ไม่เชิงเสียทีเดียว เพราะถ้าบ้านอื่นไม่มีสายดินต่อกับ N ในตู้โหลดเซนเตอร์ กระแสทั้งหมดจะมาไหลลงดินที่บ้านนั้นครับ ...
ดังนั้นทุกบ้านควรช่วยกันต่อสายดินจะดีที่สุด อย่าไปคิดว่าเป็นการช่วยการไฟฟ้าลดขนาดสายนิวตรอล ...
แต่เป็นการเพิ่มความปลอดภัยให้ตัวท่านเองครับ ..
แสดงความคิดเห็น
ทำไมต้องต่อสาย N ลงดินด้วยครับ
ผมอ่านเกี่ยวกับเรื่องพวกรางปลั๊ก L N G อะไรอย่างงี้อะครับ เข้าใจแบบงูๆปลาๆ)
ที่งงคือจากวงจร ทำไมไม่แยก N ก็ N ไปเลย G ก็ G ไปเลย
เอามารวมกันแบบนี้มันไม่กลายเป็นสายเดียวกันหรอครับ
ดูจากรูปวงจรสมตติเราเอา G จากเครื่องใช้ไฟฟ้าไปเข้าแท่น G (แท่นด้านบน) อย่างงี้มันไม่กลายเป็นเหมือนกับว่ามันคือ N ที่มาจากมิเตอร์ไฟฟ้าหรอครับ
แล้วสายที่เข้า N ตรง Main Breaker นี้จะเป็น N หรือ G กันแน่ครับ เพราะทั้งมาจากสาย N จากนอกบ้าน และก็ลงดินด้วย
มาคิดดูก็งงว่าตกลงว่าแท่นด้านบน ถ้าดูจากเครื่องใช้ไฟฟ้ามันคือ G แต่ถ้าดูจาก Main Breaker มันคือ N ผมเข้าใจถูกไหมครับ
งงครับ ช่วยชี้แนะสั่งสอนผมทีครับ
อ้างอิง##
http://topicstock.ppantip.com/home/topicstock/2009/09/R8282215/R8282215.html
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0579b2b9f47f6e65
http://myreadertips.blogspot.com/2010/12/ground.html