ทำความเข้าใจกับความขัดแย้งระหว่าง Einstein และ Bohr ในระดับควอนตัม

Einstein และBohr คือ ตัวอย่างของความใช่และไม่ใช่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน ในระดับควอนตัม หรือ ทฤษฎีเส้นเชือก(string theory)

ทฤษฎีเส้นเชือก(string theory) คือ ระบบการทำงานของควอนตัมที่มีความใช่และไม่ใช่ความเป็นคู่อยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน หรือในทางวิทยาศาสตร์และฟิสิกส์เรียกว่า สองมิติ/มิติคู่ขนาน/โลกคู่ขนาน+3 มิติ+1 มิติของช่องว่างและเวลา ซึ่งในคำอธิบายด้านล่างจะเผยให้คุณเห็นถึงทฤษฎีเส้นเชือก(string theory) ที่ซ่อนอยู่ภายใต้การทำงานของความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเองและของคนที่เข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับเรา

ในระดับควอนตัมมีคำอธิบายที่สามารถแยกรายละเอียดของความพยายามในการออกมาโต้แย้งและคัดค้านเหตุผลของกันและกันอย่างไม่มีใครยอมใครของทั้ง Einstein และ Bohr คือ ทั้ง Einstein และ  Bohr มีสถานะทางความคิดและความรู้สึก/อดีตและอนาคตและมีสภาวะกึ่งเป็นกึ่งตายอยู่ระหว่างกึ่งความคิดกึ่งความรู้สึก/อดีต-ปัจจุบันและปัจจุบัน-อนาคตเหมือนกัน แต่ภายใต้สถานะและสภาวะที่เหมือนกันก็มีความแตกต่างกันในเวลาที่ทั้งคู่ออกมาแสดงความคิดเห็นคัดค้านกัน/จุดยืนแตกต่างกันคือ Einstein จะยืนอยู่บนความไม่ใช่ทางด้านความคิด(อดีต-ปัจจุบัน)และใช่ทางด้านความรู้สึก(อดีต-ปัจจุบัน) ของตัวเอง และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกัน  Bohr จะยืนอยู่บนความใช่ทางด้านความคิด(ปัจจุบัน-อนาคต) และไม่ใช่และใช่ทางด้านความรู้สึก(ปัจจุบัน-อดีต ปัจจุบัน-อนาคต) จะเห็นได้ว่าจุดยืน/สถานะและสภาวะของทั้งคู่(ทุกสรรพสิ่ง)ที่เข้ามามีปฏิสัมพันธ์กันนั้นจะมีอยู่/เป็นอยู่และไม่มีอยู่/ไม่เป็นอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกันเหมือนกันและแตกต่างกัน(กลับด้านกัน) ซึ่งทั้งความเหมือนและความแตกต่างกันคือ แรงที่ช่วยผลักดันตัวเองและกันและกันเพื่อเดินออกจากจุดที่เรายืนอยู่เพื่อสร้างผลงานใหม่ๆ แต่ทั้ง Einstein  และ Bohr ต่างก็พยายามยืนอยู่บนจุดของตัวเองทำให้คู่เป็นผู้ชนะและผู้แพ้ของตัวเองและของกันและกันคือ Einstein มีผลงานที่เคยสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเองที่เกิดจากความคิด(การนำเอาความคิดที่อยู่ในอนาคตมาเป็นปัจจุบัน) ทำให้ Einstein อยู่ในสถานะอดีต-ปัจจุบัน เมื่อ Bohr เข้ามามีปฏิสัมพันธ์ด้วย แต่ก่อนหน้าที่ Bohr จะเข้ามามีปฏิสัมพันธ์ด้วย Einstein อยุ่ในสภาวะควอนตัมคือ กึ่งอดีตกึ่งอนาคต แต่เมื่อ Bohr เข้ามามีปฏิสัมพันธ์ด้วยทำให้ Einstein ต้องเลือกข้างของตัวเอง ซึ่งเมื่อ Bohr เข้ามาในสถานะและสภาวะทางความคิด(ปัจจุบัน-อนาคต) นั้นทำให้สถานะทางความคิดของ Einstein เคลื่อนที่ออกจากสถานะทางความคิดปัจจุบัน-อนาคตไปอยู่ในสถานะอดีต-ปัจจุบันและเข้าสู่สถานะและสภาวะทางความรู้สึกใหม่ทันทีโดยอัตโนมัติ ซึ่งสถานะและสภาวะทางความรู้สึกใหม่นี้ไม่ใช่สิ่งใหม่แต่เป็นสถานะและสภาวะเก่าที่มีอยู่แล้วซึ่ง Einstein เข้าใจว่าเป็นสามัญสำนึก ดังนั้นสิ่งที่ Einstein ทำโดยอัตโนมัติเช่นกันคือ นำพาตัวเองออกจากสถานะและสภาวะทางความคิด(อดีต-ปัจจุบัน) เข้าสู่สถานะและสภาวะทางความรู้สึกคือ มีอยู่ใน(อดีต-ปัจจุบัน) และไม่มีอยู่ใน(ปัจจุบัน-อนาคต) เมื่อ Einstein นำเอาความรู้สึกที่มีอยู่ในอดีตแต่ยังไม่มีอยู่ในอนาคตเข้าไปแสดงความคิดเห็นคัดค้านความคิดของ Bohr (ที่นำเอาความคิดที่อยู่ในอนาคตมาเป็นปัจจุบัน) ทำให้ Einstein ไม่มีทางเอาชนะ Bohr ได้ ดังนั้นสิ่งที่ Einstein ต้องทำคือ นอกจากการนำเอาความรู้สึกที่มีอยู่ในอดีตแต่ยังไม่มีอยู่ในอนาคตที่เกิดจากการเคลื่อนที่ออกจาความคิดเข้าสู่ความรู้สึกโดยอัตโนมัติเข้าไปแสดงความคิดเห็นคัดค้านความคิดของ Bohr แล้ว Einstein ยังต้องนำพาความรู้สึกที่อยู่ในสภาวะอดีต-ปัจจุบันเข้าสู่สภาวะปัจจุบัน-อนาคต(การนำเอาความรู้สึกที่อยู่ในอนาคตมาเป็นปัจจุบัน) ซึ่งเป็นกระบวนการทำงาน(สร้างและทำลาย, เกิดและตาย) เดียวกันกับที่ Einstein เคยใช้ทำกับความคิดมาแล้ว แต่สิ่งที่ Einstein เลือกทำและไม่ทำในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันคือ 1. การนำพาความรู้สึกที่อยู่ในสภาวะอดีต-ปัจจุบันเข้าไปแสดงความเห็นคัดค้าน Bohr เพื่อผลักดันให้ Bohr เดินออกจากจุดยืนทางความคิดของ Bohr ที่ยืนอยู่บนปัจจุบัน-อนาคตเข้าสู่ความรู้สึกคือ ไม่มีอยู่ใน(อดีต-ปัจจุบัน) และมีอยู่ใน(ปัจจุบัน-อนาคต) จึงเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ที่ Bohr จะยอมละทิ้งจุดยืนทางความคิดของ Bohr ที่ยืนอยู่บนปัจจุบัน-อนาคตเข้าสู่ความรู้สึกที่มีอยู่ใน(ปัจจุบัน-อนาคต) แต่ยังไม่มีอยู่ใน(อดีต-ปัจจุบัน) 2. เลือกที่จะไม่นำพาความรู้สึกที่อยู่ในสภาวะอดีต-ปัจจุบันของตัวเองเดินเข้าสู่สถานะและสภาวะปัจจุบัน-อนาคตโดยอัตโนมัติทำให้อนาคตของ Einstein=0 ด้วยตัวของ Einstein เองและการที่ Bohr เลือกที่จะยืนอยู่บนความคิดของตัวเองโดยไม่ยอมละทิ้งความคิดเข้าสู่ความรู้สึกของตัวเองก็เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติตามธรรมชาติของความคิดและความรู้สึกที่จะยอมละทิ้งความคิดและหรือความรู้สึกเก่าๆตัวเองก็ต่อเมื่อมีความคิดและหรือความรู้สึกใหม่ๆของตัวเองและหรือของผู้อื่นเข้ามาช่วยทำให้เกิดแรงผลักดันและการที่ Einstein เลือกทำข้อ1 ก็เป็นมีเหตุผลในระดับควอนตัมสองข้อคือ 1. การผลักดันความรู้สึกของตัวเองที่อยู่ในด้านลบนั้นทำได้ยากกว่าการผลักดันความคิดของตัวเองซึ่งอยู่ในด้านบวก 2. การผลักดันคนอื่นด้วยความรู้สึกที่ตัวเองมีอยู่นั้นเป็นสิ่งที่ทำได้ง่ายกว่าการยอมละทิ้งความรู้สึกที่มีอยู่(อดีต-ปัจจุบัน) ของตัวเองไปสู่ความรู้สึกที่ยังไม่มีอยู่(ปัจจุบัน-อนาคต) ซึ่งถ้าหาก Einstein ยอมละทิ้งความรู้สึกที่มีอยู่(อดีต-ปัจจุบัน) ของตัวเองแล้วนำเอาความรู้สึกที่มีอยู่อนาคตมาลงมือทำให้เป็นปัจจุบันจะทำให้ Einstein เคลื่อนย้ายออกจากจุดยืนทางความรู้สึก(ปัจจุบัน-อนาคต) เข้าสู่จุดยืนทางความรู้สึก(ปัจจุบัน-อนาคต) ที่อยู่ในมิติคู่ขนาดที่สามารถเชื่อมต่อไปยังจุดยืนทางความคิด(อดีต-ปัจจุบัน) ทันทีโดยอัตโนมัติ ซึ่งเมื่อจุดยืนของ Einstein เปลี่ยนไป Einstein จะต้องนำเอาจุดยืนทางความคิด(อดีต-ปัจจุบัน) นั้นเข้าสู่กระบวนการสร้างและทำลายเกิดและตายทางความคิดเพื่อนำพาความคิดที่ยืนอยู่บนอดีต-ปัจจุบันของตัว Einstein เองเข้าสู่จุดยืนทางความคิด(ปัจจุบัน-อนาคต) ด้วยตัวเองคือนำเอาความคิดที่อยู่ในอนาคตมาเป็นปัจจุบันซึ่งจะทำให้สถานะและสภาวะของตัว Einstein=1 เช่นเดียวกันกับ Bohr ที่ต้องนำพาตัวเองเดินเข้าและออกจากกระบวนการสร้างและทำลายเกิดและตายทางความคิดและความรู้สึกของตัวเองด้วยตัวเอง จะเห็นได้ว่าการออกมาแสดงความคิดเห็นคัดค้านหรือโต้แย้งกันทางความคิดและความรู้สึก= การผลักดันตัวเองและกันและกันเพื่อทำให้เกิดกระบวนการสร้างและทำลายเกิดและตายทางความคิดและความรู้สึกของตัวเองและของกันและกันเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางกระบวนการสร้างและทำลายเกิดและตายทางความคิดและความรู้สึกของตัวเอง ซึ่งในทางฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์เรียกการทำงานนี้ว่า หลักการเติมเต็ม(complementarity principle) และในทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์เรียกว่า ทฤษฎีเคออส(chaos theory) ซึ่งคำจำกัดความของระบบเคออสคือระบบไม่เชิงเส้น(nonlinear system) ประเภทหนึ่งที่มีความไวต่อสภาวะเริ่มต้น หรือที่เรียกว่า "ปรากฏการณ์ผีเสื้อกระพือปีก"หรือ"บัตเตอร์ฟลายเอฟเฟกต์" (butterfly effect) ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะที่ปั่นป่วนยุ่งเหยิงจนดูคล้ายว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นแบบสุ่มหรือไร้ระเบียบ(random/stochastic) แต่จริงๆแล้วระบบเคออสนี้เป็นระบบแบบไม่สุ่มหรือระบบที่มีระเบียบ(deterministic) ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของตัวเองในที่สุด

***จงอยู่และอย่าอยุ่ในจุดที่คุณยืนอยู่ในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวกันใช่และไม่ใช่สิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และเวลาเดียวกันใช่และไม่ใช่เวลาเดียวกันในเวลาเดียวกัน การมีสถานะและสภาวะ=0 คือ การใช้ชีวิตวนเวียนภายใต้วงจรหรือวัฏจักรหรือค่าอนันต์ทางความคิดความรู้สึกและการกระทำเดิมๆ แต่การทำให้สถานะและสภาวะ=1 คือ การใช้ชีวิตเพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวงจรหรือวัฏจักรหรือค่าอนันต์ทางความคิดความรู้สึกและการกระทำ=การยกระดับทางความคิดความรู้สึกและการกระทำของตัวเราเอง หรือการเคลื่อนย้ายตัวเราเองออกจากวงจรหรือวัฏจักรหรือค่าอนันต์หนึ่งเข้าสู่อีกวงจรหรือวัฏจักรหรือค่าอนันต์หนึ่ง ซึ่งในทางคณิตศาสตร์กล่าวว่า ในช่วงชีวิตหนึ่งของคนเรา(ทุกสรรพสิ่ง) จะสามารถสร้างวงกลมได้สองวง ซึ่งวงกลมทั้งสองวงนี้สามารถวนเวียนอยู่ภายในวงกลมวงเดียวและหรือสามารถและไม่สามารถทำให้เชื่อมต่อและไม่เชื่อมต่อถึงกันได้ ซึ่งการทำงานทั้งหมดนี้ในระดับควอนตัมจะมีการทำงานอยู่สองส่วนคือ ขึ้นอยู่กับและไม่ขึ้นอยู่กับเราในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน ซึ่งคำว่า ขึ้นอยู่กับก็จะมีทั้งส่วนที่ขึ้นอยู่กับและไม่ขึ้นอยู่กับเราในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกัน และในขณะเดียวกันและหรือในทางกลับกันคำว่า ไม่ขึ้นอยู่กับก็จะมีทั้งส่วนที่ไม่ขึ้นอยู่กับและขึ้นอยู่กับเราในสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันเช่นกัน

***ชีวิตยังมีส่วนที่ควบคุมการทำงานของชีวิตที่ซ่อนอยู่อีกมากมายที่รอให้คุณเข้าไปสังเกตและทำความเข้าใจยิ่งคุณเข้าถึงส่วนที่ลึกที่สุดที่อยู่ภายในของคุณมากเท่าไหร่คุณก็จะสามารถเข้าถึงส่วนที่ลึกที่สุดที่อยู่ภายนอกของคุณได้มากเท่านั้นโดนอัตโนมัติ(การใช้ชีวิตกลับด้าน)
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่