สวัสดีค่ะ ขอความช่วยเหลือเพื่อนๆ ชาวพันทิปเกี่ยวกับเรื่องภาษี งงกับหลักการหัก ณ ที่จ่ายมาก
บริษัทเราทำงานรับเหมาค่าแรง ทีนี้ดันไปทำงานบางส่วนเสียหาย ทำให้เขาต้องซื้อของเข้ามาใหม่จากงานที่เราทำเสีย ผู้รับจ้างเลยหักค่าของนี้ออกจากค่างาน โดยที่เขาหักออกก่อนที่จะหักภาษี ณ ที่จ่าย เช่น
ค่าจ้าง 100 บาท
หักค่าของไป 10 บาท
เหลือ 90 บาท
ซึ่งเขาเอามาคำนวณหัก ณ ที่จ่าย 3%
ภาษี 3% 90*3% = 2.70 บาท
จ่ายเรา 90-2.70 = 87.30 บาท
คำถามคือ จริงๆ แล้วหักแบบนี้ถูกไหม หรือว่าต้องหัก ณ ที่จ่ายก่อน แล้วค่อยมาหักค่าเสียหาย
ป.ล. ค่าของที่เขาหัก เป็นยอดก่อน VAT เพราะเขาบอกว่าเขาเอา VAT ไปใช้ เลยไม่ได้หักค่า VAT จากเรา
ตอนนี้งงมากๆ ว่าควรจะเป็นแบบไหน เพราะเราถามฝ่ายบัญชีเขากลับว่าแบบนี้ใช่เหรอ เขาก็ยืนยันเป็นมั่นเหมาะว่าต้องแบบนี้ รบกวนผู้รู้ตอบหน่อยค่ะ
หากบริษัทจ้างผู้รับเหมา (ค่าแรง) แล้วทำของเราเสียหาย เราควรหัก ณ ที่จ่ายแบบไหน
บริษัทเราทำงานรับเหมาค่าแรง ทีนี้ดันไปทำงานบางส่วนเสียหาย ทำให้เขาต้องซื้อของเข้ามาใหม่จากงานที่เราทำเสีย ผู้รับจ้างเลยหักค่าของนี้ออกจากค่างาน โดยที่เขาหักออกก่อนที่จะหักภาษี ณ ที่จ่าย เช่น
ค่าจ้าง 100 บาท
หักค่าของไป 10 บาท
เหลือ 90 บาท
ซึ่งเขาเอามาคำนวณหัก ณ ที่จ่าย 3%
ภาษี 3% 90*3% = 2.70 บาท
จ่ายเรา 90-2.70 = 87.30 บาท
คำถามคือ จริงๆ แล้วหักแบบนี้ถูกไหม หรือว่าต้องหัก ณ ที่จ่ายก่อน แล้วค่อยมาหักค่าเสียหาย
ป.ล. ค่าของที่เขาหัก เป็นยอดก่อน VAT เพราะเขาบอกว่าเขาเอา VAT ไปใช้ เลยไม่ได้หักค่า VAT จากเรา
ตอนนี้งงมากๆ ว่าควรจะเป็นแบบไหน เพราะเราถามฝ่ายบัญชีเขากลับว่าแบบนี้ใช่เหรอ เขาก็ยืนยันเป็นมั่นเหมาะว่าต้องแบบนี้ รบกวนผู้รู้ตอบหน่อยค่ะ