Indonesia has plans to move capital from sinking Jakarta to Borneo
.
Joko Widodo ประธานาธิบดีอินโดนีเซียได้ประกาศเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา
เสนอให้ย้ายเมืองหลวงจากจาการ์ตา (บนเกาะชวา)
ซึ่งเป็นเมืองที่มีผู้คนพลุกพล่าน 10 ล้านคนไปยังเกาะบอร์เนียว
โดยปล่อยให้ชาวอินโดนีเซียคาดเดาตำแหน่งที่ตั้งที่แน่นอน
Joko Widodo ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย กล่าวสุนทรพจน์ต่อหน้าสมาชิกรัฐสภา
ก่อนวันประกาศอิสรภาพที่อาคารรัฐสภา ในกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
วันที่ 16 สิงหาคม 2019 REUTERS / Willy Kurniawan
.
Joko Widodo ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย ได้แนะนำเมืองหลวงแห่งใหม่
ที่เกาะ Kalimantan บนพื้นที่ของอินโดนีเซีย
ซึ่งเป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นพื้นที่ใช้ร่วมกันของ มาเลเซียและบรูไน
“ ผมขออนุญาตจากพวกท่านให้ย้ายเมืองหลวงของเรา ไปยังเกาะกาลิมันตัน
เมืองหลวงไม่ได้เป็นเพียงแค่สัญลักษณ์/เอกลักษณ์ประจำชาติ
แต่ยังเป็นตัวแทนของความก้าวหน้าของประเทศ
เพื่อให้เกิดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและความยุติธรรม ”
Joko Widodo ผู้ซึ่งจะสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดี
เป็นวาระที่ 2 ในเดือนตุลาคม หลังจากชนะการเลือกตั้งในเดือนเมษายน 2019
แต่ท่านยังไม่ได้ระบุสถานที่ตั้งที่แน่นอนของเมืองหลวง
ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่เป็นที่รู้จักในเรื่องป่าฝน เหมืองถ่านหิน อุรังอุตัง(อุรัง=คน อุตัง=ป่า/เหมือน คนสยามมาเลย์ใช้)
และพื้นที่ที่มีประชากรเพียง 16 ล้านคน
Joko Widodo ได้ไปเยี่ยมเกาะกาลิมันตันในเดือนพฤษภาคม
ทั้งเพื่อสำรวจพื้นที่ที่มีศักยภาพในการย้ายเมืองหลวง
และเมื่อเดือนที่แล้ว ก็ได้ Twitter สั้น ๆ ถึงความเป็นไปได้สามแห่ง
คือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ของเกาะกาลิมันตัน
"
เมืองหลวงแห่งใหม่ควรมีอาคารหลายแห่งมาก
ต้องอยู่ในใจกลางของอินโดนีเซีย
ซึ่งเป็นหมู่เกาะมากกว่า 17,000 เกาะ
ที่ทอดยาวประมาณ 5,000 กม. (3,000 ไมล์)
จากปลายตะวันตกไปตะวันออก
ความเสี่ยงของภัยพิบัติทางธรรมชาติก็ควรน้อยกว่าส่วนอื่น ๆ
เพราะอินโดนีเซียมักจะได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว น้ำท่วมและภูเขาไฟ "
ตามความเห็นของเจ้าหน้าที่รายหนึ่ง
จาการ์ตาเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก
มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคนและเป็น 3 เท่าของจำนวนผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองทั่วไป
เมืองนี้มีแนวโน้มที่จะเกิดน้ำท่วมและการพื้นที่ทรุดตัวจมลงไป
เพราะผู้อยู่อาศัยนับล้านคนที่ใช้น้ำใต้ดิน
และต่างถมทับที่ดินให้สูงกว่าที่ดินข้างเคียงของตน
พร้อมกับต้องลงทุนสร้างกำแพงกั้นน้ำทะเลไหลเข้ามาในตัวเมือง
Bambang Brodjonegoro รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการวางแผน
" การย้ายเมืองหลวงไปยังที่ตั้งที่ปลอดภัย
และมีความแออัดน้อยกว่า จะต้องลงทุนถึง 33 พันล้านเหรียญ "
แผนงานประกอบด้วยการย้ายหน่วยงานราชการ
และบ้านพักใหม่สำหรับข้าราชการประมาณ 1.5 ล้านคน
ที่คาดว่าจะบรรจุตามแผนและเริ่มย้ายได้ในปี 2024
Joko Widodo คาดว่าจะประกาศที่ตั้งของเมืองหลวงแห่งใหม่ในวันศุกร์
แต่ทางการได้ระมัดระวังความลับในเรื่องนี้มากเช่นกัน
เพราะกลัวว่าถ้าข่าวรั่ว ราคาที่ดินแถวนั้นจะพุ่งขึ้นสูง
แต่เรื่องนี้ไม่ได้หยุดยั้งชาวอินโดนีเซียที่จะทำการคาดเดา
มีผู้คนจำนวนมากทำนายว่า Joko Widodo
ชื่นชอบ Bukit Soeharto (Bukit ภูเขา หรือที่บ้านเรา ภูเก็ต)
ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าดงดิบ ในเกาะกาลิมันตันด้านตะวันออก
และเป็นที่ตั้งของรัฐสภาที่ประธานาธิบดีต้องสาบานตน
“ เบาะแส จากชายผู้อ่านคำสาบานตน จากกาลิมันตันตะวันออก ”
ผู้ใช้ Twitter Bawal Samudro เขียน
(น่าจะเป็นประธานรัฐสภาอินโดนีเซีย)
.
อินโดนีเซียไม่ใช่ประเทศแรกในเอเชียอาคเนย์ที่จะย้ายเมืองหลวง
ในปี 2005 นายพลผู้ปกครองพม่าก็ได้ย้ายเมืองหลวง
ไปยังเมืองเนปีดอซึ่งอยู่ห่างไกลออกไปประมาณ 320 กม. (200 ไมล์)
(มีข่าวไม่ลับว่า หมอดูอีที ทายให้ท่านนายพลย้ายไปที่นั่น)
ย้ายจากย่างกุ้งเมืองหลวงตั้งแต่ยุครบกับสยาม
จนถึงยุคอาณานิคมและยุคพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษ
และเคยมีการประท้วงครั้งใหญ่ที่ปะทุขึ้นที่ย่างกุ้ง
ทำให้มีคนบาดเจ็บและล้มตายกันเป็นจำนวนมากมากที่นั่นด้วยเช่นกัน
ในเหตุการณ์
การก่อการกำเริบ 8888
และเหตุการณ์ในครั้งนั้น ทำให้คนไทยคนแรกไปได้สัมปทานป่าไม้ที่พม่า
เรื่องเล่านายห้างไม้คนไทยที่ไปทำสัมปทานป่าไม้ที่พม่า
ในปี 1990 Mahathir Mohamad นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย
ก็ได้สร้างศูนย์กลางการปกครองมาเลย์
โดยรวมหน่วยงานรัฐการต่าง ๆ ไว้ที่ปุตราจายา(ปุตรา=ลูก จายา=ราชา)
ระยะทางประมาณ 33 กิโลเมตร จากกรุงกัวลาลัมเปอร์
ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการขนาดใหญ่
ที่แสดงถึงพลังอำนาจเหนือชั้นของท่าน
ที่ได้รับการเลือกตั้งและปกครองมาเลย์มายาวนาน
เรียบเรียง/ที่มา
https://reut.rs/2KDHpsc
http://bit.ly/2OZyTb3
เรื่องเล่าไร้สาระ
พรรค Mahathir Mohamad ได้รับปากชาวบ้านไว้ก่อนเลือกตั้ง
และคือ ผู้เสนอกฎหมายให้สิทธิพิเศษคนภูมิปุตรา(ภูมิ=พื้นที่)
ได้แก่คนมาเลย์ ชนเผ่าดั้งเดิมต่าง ๆ ที่มีอยู่จำนวนหนึ่ง
เช่น เงาะป่า(เซมังซาไก) ชนเผ่าพื้นเมือง แถวซาบาห์ ซาราวัค บอร์เนียว
คนสยาม คนจีน คนอินเดียที่มีหลักฐานว่าเข้ามาอยู่นานแล้ว
ก่อนมาเลย์เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษก็ได้รับสิทธิ์ภูมิปุตรานี้ด้วย
แต่รวม ๆ แล้วประมาณการว่ามีจำนวนน้อยมาก
น่าจะไม่เกิน 3 ล้านคนจากคนภูมิปุตราราว 20 ล้านคน
ประชากรมาเลย์ราว 32 ล้านคน
ที่มา/ข้อมูลเพิ่มเติม
http://bit.ly/30hUo8g
ประมาณการว่ามีคนสยามราว 2 ล้านคนอยู่ในมาเลย์
แถวไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ ปีนัง
ที่เสียดินแดน 5 รัฐเดิมไปในรัชสมัยพระปิยะมหาราช
คนสยามหลายคนก็ถูกกลืนชาติไปแล้ว
เพราะได้สิทธิประโยชน์มากมายจากการเป็นคนภูมิปุตรา
เลยถือสัญชาติมาเลย์แต่ยังคงวัฒนธรรมไทยบางส่วนไว้
เช่น ภาษาพูด/มีวัดไทยแถวตอนเหนือมาเลย์
ซึ่งมาเลย์มักจะไม่เขียนเรื่องนี้ไว้ในหนังสือแบบเรียน
ถ้ามีก็เขียนว่า คนสยาม โอรังเซียม(โอรัง=คน/เซียม=สยาม)
ส่วนที่ฟาตอนี/ปัตตานี คนสยาม=ซือแย ต่างเป็นชนกลุ่มน้อย
กฎหมายภูมิปุตรามีหลักเกณฑ์สำคัญคือ
ห้ามคนที่ไม่ใช่คนภูมิปุตราซื้อขายที่ดินในมาเลย์
ทำได้เพียงแค่เช่า การเช่าสูงสุดไม่เกิน 50 ปี ขยายได้ถึง 90 ปี
นัยว่าไม่ต้องการให้ชาวบ้านภูมิปุตราขายที่ดิน
ให้นายทุนที่ไม่ใช่ภูมิปุตราซึ่งมักจะเป็นคนจีนหรืออินเดีย
และรัฐบาลมาเลย์หวังดีไว้ล่วงหน้าว่า
พอสัญญาเช่าครบกำหนดแล้ว
ทายาท/คนภูมิปุตราที่ให้เช่าที่ดิน จะได้ร่ำรวยอีกรอบหนึ่ง
แต่ถ้าจะขายที่ดินต้องขายให้กับคนภูมิปุตราด้วยกันเท่านั้น
ข้อยกเว้นนี้ คนจีนคนอินเดียที่ไม่ใช่คนภูมิปุตรา
ถ้าได้ครอบครองก่อนประกาศใช้กฎหมายนี้
ก็ยังซื้อขายที่ดินได้ แต่ต้องขายให้คนภูมิปุตราเท่านั้น
ถ้าคนจีน คนอินเดีย ที่ไม่ใช้ภูมิปุตราจะทำธุรกิจ
จะต้องให้คนภูมิปุตราถือหุ้นลม 50%
แต่รัฐบาลจะช่วยเหลือโดยมอบเงินให้กู้ อัตราดอกเบี้ยต่ำ
เพื่อพัฒนาให้คนภูมิปุตราทำธุรกิจเป็น
ผลทำให้คนจีนที่นั่นนิยมหุ้นกับคนสยามมากกว่า
เพราะไม่มีลูกเล่น มีน้ำใจ ไม่ขี้โกงเหมือนคนมาเลย์ส่วนใหญ่
กอปรกับคนจีนใช้สิทธิ์นี้เป็นประโยชน์มากกว่าการลงทุนเอง
กฎหมายนี้ยังรวมถึงโควต้าเข้าเรียนต่อโรงเรียน/มหาวิทยาลัยรัฐ
สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ การรับทุนการศึกษาไปเรียนต่อเมืองนอก
การเข้ารับรัฐการ การเลื่อนชั้นเลื่อนตำแหน่งต่าง ๆ
ที่กีดกันไว้ให้เฉพาะคนภูมิปุตราก่อน
ในตอนนี้ มาเลย์ก็ค่อย ๆ ยุติธุรกิจเกี่ยวกับหมูหมู
โรงฆ่าหมู ฟาร์มเลี้ยงหมู ร้านข้าวขาหมู ร้านข้าวหมูแดง ฯลฯ
ใครทำผิดกฎหมายก็ยกเลิกใบอนุญาตทันที
ไม่มีการต่อใบอนุญาต หรือออกใบอนุญาตฉบับใหม่ให้อีก
เจ้าของธุรกิจเกี่ยวกับหมู ถ้าเป็นบุคคลธรรมดาเสียชีวิตลง
กิจการเกี่ยวกับเรื่องหมูนั้น ก็ต้องยุติทันที
ไม่มีการออกใบอนุญาตให้ทายาทธุรกิจต่อไป
ทำให้ตอนนี้คนจีนในมาเลย์นิยมเข้ามาเมืองไทย(แถวบ้าน)
หาอาหารประเภทหมูหมูอร่อยอร่อยกิน
เพราะที่นั่นเริ่มหากินยากแล้ว
เมืองหลวงอินโดนีเซียตั้งอยู่บนหมู่เกาะชวา
มีคนนำคำนี้ไปใช้ในโปรแกรมภาษา Java
เพราะได้ไปพักผ่อน/ชื่นชอบที่นั่นมาก
ประธานาธิบดีอินโดนีเซียก็เป็นคนเผ่าพันธ์ุชวาที่นับถือศาสนาอิสลาม
เดิมพื้นที่นี้นับถือศาสนาฮินดู และเคยมีศาสนาสถานพุทธนิกายมหายานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในอดีต
คือ
บรมพุทโธ ที่พวกมุสลิมสุดโต่งเคยเสนอให้ทำลายทิ้ง
กับมีคนพยายามลอบวางระเบิดเพื่อทำลายศาสนสถานแห่งนี้มาแล้ว
เพราะพยายามเลียนแบบกลุ่มตอลิบันที่อัฟกานิสถาน
ที่ได้ระเบิด
พระพุทธรูปบามิยัน ทิ้งไปแล้ว
ภายหลังมีคนไปสัมภาษณ์ชาวบ้านแถวนั้น ต่างบอกไม่เห็นด้วย
แต่กลัวตายเลยไม่กล้าไปคัดค้านเพราะพวกตอลิบันมีอำนาจรัฐที่มาจากกระบอกปืน
หมู่เกาะชวายังมีภาษาชวาของตนเอง ไม่ใช่ภาษาอินโดนีเซีย
ทำให้เกาะนี้มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
และคนชวาดั้งเดิมจริง ๆ ก็ไม่ยอมรับว่า
ตนเป็นพวกแขกอินโดนีเซีย
เพราะมีภาษาวัฒนธรรม/ศาสนาแตกต่าง
และยังมีปมเขื่องว่าพวกตนเคยเจริญกว่าคนเผ่าอื่น ๆ
การย้ายเมืองหลวงจึงเป็นทางออกที่ดีส่วนหนึ่ง
เรื่องที่รองลงมาคือ แค้นฝังหุ่น
นักวิชาการ/ชาวบ้านอินโดนีเซียเคยประณามว่า
แขกมลายูคบไม่ได้ คนสองหน้า ลิ้นสองแฉก ทรยศครูอาจารย์
เพราะในตอนที่มาเลย์เป็นอาณานิคมอังกฤษกับหลังมีเอกราช
คนที่นั่นไม่รู้หนังสือและโง่มากในเรื่องหนังสือ/วิชาการ
ครูอาจารย์ส่วนใหญ่จึงต้องนำเข้ามาจากอินโดนีเซีย
ไปสอนหนังสือที่นั่นจนถึงระดับมหาวิทยาลัย
พอต่อมาคนมาเลย์มีการศึกษามากขึ้น
จึงเริ่มหาคนมาทดแทนได้แล้ว
ก็จัดการไล่ครูอาจารย์อินโดนีเซียออกไป
ในตอนที่อังกฤษให้เอกราชมาเลย์
พร้อม ๆ กับตั้งประเทศบรูไนไว้กันท่าอินโดนีเซีย
(แบบเม็ดกรวดทรายในถุงเท้า ให้เจ็บ/รำคาญ)
อังกฤษให้ชาวบ้านตอนเหนือเกาะกาลิมันตัน
ลงคะแนนเสียงว่า จะอยู่กับมาเลย์ หรือ อินโดนีเซีย
แต่มาเลย์เจ้าเล่ห์ได้วางแผนล่วงหน้าแล้ว
ด้วยการอพยพคนมาเลย์ไปอยู่ที่นั่นจำนวนมากแล้ว
พอลงคะแนนเสียงก็ชนะขาดลอย
ได้แยกดินแดนดอนบนออกไปแล้วระบุชื่อในแผนที่ว่า เกาะบอร์เนียว
การกลับไปที่เกาะกาลิมันตันของอินโดนีเซีย
ก็เพื่อกันท่ามาเลย์ในระยะยาวด้วยเช่นกัน
แบบไม่ไว้ใจการทรยศหักหลังของมาเลย์
ขณะเดียวกันมาเลย์ก็พยายามโฆษณาชวนเชื่อว่า
ภาษา
Bahasa Malay แทนเดิมที่ใช้คำว่า
Bahasa Indonesia
เพราะความกร่างว่า ชาติตนตอนนี้เจริญกว่าอินโดนีเซีย
ที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกและยากจนกว่ามาเลย์
ทำให้คนอินโดนีเซียต้องหลบหนีเข้าไปทำงาน
ใช้แรงงานหรือเป็นคนรับใช้ที่มาเลย์จำนวนมากเช่นกัน
แต่เดิมคำว่า ภาษาอินโดนีเซียนี้ใช้กันมาก
ในบรรดาชนเผ่าต่าง ๆ ตามหมู่เกาะต่าง ๆ ว่า ภาษาอินโด
แบบเป็นภาษากลางใช้ในการติดต่อสื่อสารและค้าขายกัน
แต่มาเลย์จัดการเล่นแร่แปรธาตุพร้อมกับการสมคบคิดกับอังกฤษ
พยายามทำให้เรียกว่า ภาษามาเลย์ แทนภาษาอินโดนีเซีย
และเหมารวมว่า เผ่าพันธุ์มาเลย์มีมากมายเหลือคณานับตามที่ต่าง ๆ
ทั้ง ๆ ที่แต่เดิมมีชนเผ่าพันธุ์ต่าง ๆ จำนวนมากในภูมิภาคนี้
ประวัติศาสตร์ชาติพันธ์ุมาเลย์ก็ยอมรับเองว่า
ชนเผ่ามาเลย์เดิมอพยพ/หนีตายมาจากอินเดีย
ประกอบอาชีพส่วนใหญ่เป็นชาวประมง/กะลาสีเรือ/โจรสลัด
ในอดีต ชาวมาเลย์มักจะแล่นเรือตระเวณไปร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
อินโดนีเซียจะย้ายเมืองหลวงจากจาการ์ตา
เสนอให้ย้ายเมืองหลวงจากจาการ์ตา (บนเกาะชวา)
ซึ่งเป็นเมืองที่มีผู้คนพลุกพล่าน 10 ล้านคนไปยังเกาะบอร์เนียว
โดยปล่อยให้ชาวอินโดนีเซียคาดเดาตำแหน่งที่ตั้งที่แน่นอน
ที่เกาะ Kalimantan บนพื้นที่ของอินโดนีเซีย
ซึ่งเป็นเกาะขนาดใหญ่เป็นพื้นที่ใช้ร่วมกันของ มาเลเซียและบรูไน
“ ผมขออนุญาตจากพวกท่านให้ย้ายเมืองหลวงของเรา ไปยังเกาะกาลิมันตัน
เมืองหลวงไม่ได้เป็นเพียงแค่สัญลักษณ์/เอกลักษณ์ประจำชาติ
แต่ยังเป็นตัวแทนของความก้าวหน้าของประเทศ
เพื่อให้เกิดความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและความยุติธรรม ”
Joko Widodo ผู้ซึ่งจะสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดี
เป็นวาระที่ 2 ในเดือนตุลาคม หลังจากชนะการเลือกตั้งในเดือนเมษายน 2019
แต่ท่านยังไม่ได้ระบุสถานที่ตั้งที่แน่นอนของเมืองหลวง
ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคที่เป็นที่รู้จักในเรื่องป่าฝน เหมืองถ่านหิน อุรังอุตัง(อุรัง=คน อุตัง=ป่า/เหมือน คนสยามมาเลย์ใช้)
และพื้นที่ที่มีประชากรเพียง 16 ล้านคน
ทั้งเพื่อสำรวจพื้นที่ที่มีศักยภาพในการย้ายเมืองหลวง
และเมื่อเดือนที่แล้ว ก็ได้ Twitter สั้น ๆ ถึงความเป็นไปได้สามแห่ง
คือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ของเกาะกาลิมันตัน
" เมืองหลวงแห่งใหม่ควรมีอาคารหลายแห่งมาก
ต้องอยู่ในใจกลางของอินโดนีเซีย
ซึ่งเป็นหมู่เกาะมากกว่า 17,000 เกาะ
ที่ทอดยาวประมาณ 5,000 กม. (3,000 ไมล์)
จากปลายตะวันตกไปตะวันออก
ความเสี่ยงของภัยพิบัติทางธรรมชาติก็ควรน้อยกว่าส่วนอื่น ๆ
เพราะอินโดนีเซียมักจะได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว น้ำท่วมและภูเขาไฟ "
ตามความเห็นของเจ้าหน้าที่รายหนึ่ง
จาการ์ตาเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก
มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคนและเป็น 3 เท่าของจำนวนผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองทั่วไป
เมืองนี้มีแนวโน้มที่จะเกิดน้ำท่วมและการพื้นที่ทรุดตัวจมลงไป
เพราะผู้อยู่อาศัยนับล้านคนที่ใช้น้ำใต้ดิน
และต่างถมทับที่ดินให้สูงกว่าที่ดินข้างเคียงของตน
พร้อมกับต้องลงทุนสร้างกำแพงกั้นน้ำทะเลไหลเข้ามาในตัวเมือง
Bambang Brodjonegoro รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการวางแผน
" การย้ายเมืองหลวงไปยังที่ตั้งที่ปลอดภัย
และมีความแออัดน้อยกว่า จะต้องลงทุนถึง 33 พันล้านเหรียญ "
แผนงานประกอบด้วยการย้ายหน่วยงานราชการ
และบ้านพักใหม่สำหรับข้าราชการประมาณ 1.5 ล้านคน
ที่คาดว่าจะบรรจุตามแผนและเริ่มย้ายได้ในปี 2024
Joko Widodo คาดว่าจะประกาศที่ตั้งของเมืองหลวงแห่งใหม่ในวันศุกร์
แต่ทางการได้ระมัดระวังความลับในเรื่องนี้มากเช่นกัน
เพราะกลัวว่าถ้าข่าวรั่ว ราคาที่ดินแถวนั้นจะพุ่งขึ้นสูง
แต่เรื่องนี้ไม่ได้หยุดยั้งชาวอินโดนีเซียที่จะทำการคาดเดา
มีผู้คนจำนวนมากทำนายว่า Joko Widodo
ชื่นชอบ Bukit Soeharto (Bukit ภูเขา หรือที่บ้านเรา ภูเก็ต)
ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าดงดิบ ในเกาะกาลิมันตันด้านตะวันออก
และเป็นที่ตั้งของรัฐสภาที่ประธานาธิบดีต้องสาบานตน
“ เบาะแส จากชายผู้อ่านคำสาบานตน จากกาลิมันตันตะวันออก ”
ผู้ใช้ Twitter Bawal Samudro เขียน
(น่าจะเป็นประธานรัฐสภาอินโดนีเซีย)
.
อินโดนีเซียไม่ใช่ประเทศแรกในเอเชียอาคเนย์ที่จะย้ายเมืองหลวง
ในปี 2005 นายพลผู้ปกครองพม่าก็ได้ย้ายเมืองหลวง
ไปยังเมืองเนปีดอซึ่งอยู่ห่างไกลออกไปประมาณ 320 กม. (200 ไมล์)
(มีข่าวไม่ลับว่า หมอดูอีที ทายให้ท่านนายพลย้ายไปที่นั่น)
ย้ายจากย่างกุ้งเมืองหลวงตั้งแต่ยุครบกับสยาม
จนถึงยุคอาณานิคมและยุคพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษ
และเคยมีการประท้วงครั้งใหญ่ที่ปะทุขึ้นที่ย่างกุ้ง
ทำให้มีคนบาดเจ็บและล้มตายกันเป็นจำนวนมากมากที่นั่นด้วยเช่นกัน
ในเหตุการณ์ การก่อการกำเริบ 8888
และเหตุการณ์ในครั้งนั้น ทำให้คนไทยคนแรกไปได้สัมปทานป่าไม้ที่พม่า
เรื่องเล่านายห้างไม้คนไทยที่ไปทำสัมปทานป่าไม้ที่พม่า
ในปี 1990 Mahathir Mohamad นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย
ก็ได้สร้างศูนย์กลางการปกครองมาเลย์
โดยรวมหน่วยงานรัฐการต่าง ๆ ไว้ที่ปุตราจายา(ปุตรา=ลูก จายา=ราชา)
ระยะทางประมาณ 33 กิโลเมตร จากกรุงกัวลาลัมเปอร์
ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการขนาดใหญ่
ที่แสดงถึงพลังอำนาจเหนือชั้นของท่าน
ที่ได้รับการเลือกตั้งและปกครองมาเลย์มายาวนาน
เรียบเรียง/ที่มา
https://reut.rs/2KDHpsc
http://bit.ly/2OZyTb3
เรื่องเล่าไร้สาระ
พรรค Mahathir Mohamad ได้รับปากชาวบ้านไว้ก่อนเลือกตั้ง
และคือ ผู้เสนอกฎหมายให้สิทธิพิเศษคนภูมิปุตรา(ภูมิ=พื้นที่)
ได้แก่คนมาเลย์ ชนเผ่าดั้งเดิมต่าง ๆ ที่มีอยู่จำนวนหนึ่ง
เช่น เงาะป่า(เซมังซาไก) ชนเผ่าพื้นเมือง แถวซาบาห์ ซาราวัค บอร์เนียว
คนสยาม คนจีน คนอินเดียที่มีหลักฐานว่าเข้ามาอยู่นานแล้ว
ก่อนมาเลย์เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษก็ได้รับสิทธิ์ภูมิปุตรานี้ด้วย
แต่รวม ๆ แล้วประมาณการว่ามีจำนวนน้อยมาก
น่าจะไม่เกิน 3 ล้านคนจากคนภูมิปุตราราว 20 ล้านคน
ประชากรมาเลย์ราว 32 ล้านคน
ที่มา/ข้อมูลเพิ่มเติม http://bit.ly/30hUo8g
ประมาณการว่ามีคนสยามราว 2 ล้านคนอยู่ในมาเลย์
แถวไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ ปีนัง
ที่เสียดินแดน 5 รัฐเดิมไปในรัชสมัยพระปิยะมหาราช
คนสยามหลายคนก็ถูกกลืนชาติไปแล้ว
เพราะได้สิทธิประโยชน์มากมายจากการเป็นคนภูมิปุตรา
เลยถือสัญชาติมาเลย์แต่ยังคงวัฒนธรรมไทยบางส่วนไว้
เช่น ภาษาพูด/มีวัดไทยแถวตอนเหนือมาเลย์
ซึ่งมาเลย์มักจะไม่เขียนเรื่องนี้ไว้ในหนังสือแบบเรียน
ถ้ามีก็เขียนว่า คนสยาม โอรังเซียม(โอรัง=คน/เซียม=สยาม)
ส่วนที่ฟาตอนี/ปัตตานี คนสยาม=ซือแย ต่างเป็นชนกลุ่มน้อย
กฎหมายภูมิปุตรามีหลักเกณฑ์สำคัญคือ
ห้ามคนที่ไม่ใช่คนภูมิปุตราซื้อขายที่ดินในมาเลย์
ทำได้เพียงแค่เช่า การเช่าสูงสุดไม่เกิน 50 ปี ขยายได้ถึง 90 ปี
นัยว่าไม่ต้องการให้ชาวบ้านภูมิปุตราขายที่ดิน
ให้นายทุนที่ไม่ใช่ภูมิปุตราซึ่งมักจะเป็นคนจีนหรืออินเดีย
และรัฐบาลมาเลย์หวังดีไว้ล่วงหน้าว่า
พอสัญญาเช่าครบกำหนดแล้ว
ทายาท/คนภูมิปุตราที่ให้เช่าที่ดิน จะได้ร่ำรวยอีกรอบหนึ่ง
แต่ถ้าจะขายที่ดินต้องขายให้กับคนภูมิปุตราด้วยกันเท่านั้น
ข้อยกเว้นนี้ คนจีนคนอินเดียที่ไม่ใช่คนภูมิปุตรา
ถ้าได้ครอบครองก่อนประกาศใช้กฎหมายนี้
ก็ยังซื้อขายที่ดินได้ แต่ต้องขายให้คนภูมิปุตราเท่านั้น
ถ้าคนจีน คนอินเดีย ที่ไม่ใช้ภูมิปุตราจะทำธุรกิจ
จะต้องให้คนภูมิปุตราถือหุ้นลม 50%
แต่รัฐบาลจะช่วยเหลือโดยมอบเงินให้กู้ อัตราดอกเบี้ยต่ำ
เพื่อพัฒนาให้คนภูมิปุตราทำธุรกิจเป็น
ผลทำให้คนจีนที่นั่นนิยมหุ้นกับคนสยามมากกว่า
เพราะไม่มีลูกเล่น มีน้ำใจ ไม่ขี้โกงเหมือนคนมาเลย์ส่วนใหญ่
กอปรกับคนจีนใช้สิทธิ์นี้เป็นประโยชน์มากกว่าการลงทุนเอง
กฎหมายนี้ยังรวมถึงโควต้าเข้าเรียนต่อโรงเรียน/มหาวิทยาลัยรัฐ
สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ การรับทุนการศึกษาไปเรียนต่อเมืองนอก
การเข้ารับรัฐการ การเลื่อนชั้นเลื่อนตำแหน่งต่าง ๆ
ที่กีดกันไว้ให้เฉพาะคนภูมิปุตราก่อน
ในตอนนี้ มาเลย์ก็ค่อย ๆ ยุติธุรกิจเกี่ยวกับหมูหมู
โรงฆ่าหมู ฟาร์มเลี้ยงหมู ร้านข้าวขาหมู ร้านข้าวหมูแดง ฯลฯ
ใครทำผิดกฎหมายก็ยกเลิกใบอนุญาตทันที
ไม่มีการต่อใบอนุญาต หรือออกใบอนุญาตฉบับใหม่ให้อีก
เจ้าของธุรกิจเกี่ยวกับหมู ถ้าเป็นบุคคลธรรมดาเสียชีวิตลง
กิจการเกี่ยวกับเรื่องหมูนั้น ก็ต้องยุติทันที
ไม่มีการออกใบอนุญาตให้ทายาทธุรกิจต่อไป
ทำให้ตอนนี้คนจีนในมาเลย์นิยมเข้ามาเมืองไทย(แถวบ้าน)
หาอาหารประเภทหมูหมูอร่อยอร่อยกิน
เพราะที่นั่นเริ่มหากินยากแล้ว
เมืองหลวงอินโดนีเซียตั้งอยู่บนหมู่เกาะชวา
มีคนนำคำนี้ไปใช้ในโปรแกรมภาษา Java
เพราะได้ไปพักผ่อน/ชื่นชอบที่นั่นมาก
ประธานาธิบดีอินโดนีเซียก็เป็นคนเผ่าพันธ์ุชวาที่นับถือศาสนาอิสลาม
เดิมพื้นที่นี้นับถือศาสนาฮินดู และเคยมีศาสนาสถานพุทธนิกายมหายานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในอดีต
คือ บรมพุทโธ ที่พวกมุสลิมสุดโต่งเคยเสนอให้ทำลายทิ้ง
กับมีคนพยายามลอบวางระเบิดเพื่อทำลายศาสนสถานแห่งนี้มาแล้ว
เพราะพยายามเลียนแบบกลุ่มตอลิบันที่อัฟกานิสถาน
ที่ได้ระเบิด พระพุทธรูปบามิยัน ทิ้งไปแล้ว
ภายหลังมีคนไปสัมภาษณ์ชาวบ้านแถวนั้น ต่างบอกไม่เห็นด้วย
แต่กลัวตายเลยไม่กล้าไปคัดค้านเพราะพวกตอลิบันมีอำนาจรัฐที่มาจากกระบอกปืน
หมู่เกาะชวายังมีภาษาชวาของตนเอง ไม่ใช่ภาษาอินโดนีเซีย
ทำให้เกาะนี้มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
และคนชวาดั้งเดิมจริง ๆ ก็ไม่ยอมรับว่า
ตนเป็นพวกแขกอินโดนีเซีย
เพราะมีภาษาวัฒนธรรม/ศาสนาแตกต่าง
และยังมีปมเขื่องว่าพวกตนเคยเจริญกว่าคนเผ่าอื่น ๆ
การย้ายเมืองหลวงจึงเป็นทางออกที่ดีส่วนหนึ่ง
เรื่องที่รองลงมาคือ แค้นฝังหุ่น
นักวิชาการ/ชาวบ้านอินโดนีเซียเคยประณามว่า
แขกมลายูคบไม่ได้ คนสองหน้า ลิ้นสองแฉก ทรยศครูอาจารย์
เพราะในตอนที่มาเลย์เป็นอาณานิคมอังกฤษกับหลังมีเอกราช
คนที่นั่นไม่รู้หนังสือและโง่มากในเรื่องหนังสือ/วิชาการ
ครูอาจารย์ส่วนใหญ่จึงต้องนำเข้ามาจากอินโดนีเซีย
ไปสอนหนังสือที่นั่นจนถึงระดับมหาวิทยาลัย
พอต่อมาคนมาเลย์มีการศึกษามากขึ้น
จึงเริ่มหาคนมาทดแทนได้แล้ว
ก็จัดการไล่ครูอาจารย์อินโดนีเซียออกไป
ในตอนที่อังกฤษให้เอกราชมาเลย์
พร้อม ๆ กับตั้งประเทศบรูไนไว้กันท่าอินโดนีเซีย
(แบบเม็ดกรวดทรายในถุงเท้า ให้เจ็บ/รำคาญ)
อังกฤษให้ชาวบ้านตอนเหนือเกาะกาลิมันตัน
ลงคะแนนเสียงว่า จะอยู่กับมาเลย์ หรือ อินโดนีเซีย
แต่มาเลย์เจ้าเล่ห์ได้วางแผนล่วงหน้าแล้ว
ด้วยการอพยพคนมาเลย์ไปอยู่ที่นั่นจำนวนมากแล้ว
พอลงคะแนนเสียงก็ชนะขาดลอย
ได้แยกดินแดนดอนบนออกไปแล้วระบุชื่อในแผนที่ว่า เกาะบอร์เนียว
การกลับไปที่เกาะกาลิมันตันของอินโดนีเซีย
ก็เพื่อกันท่ามาเลย์ในระยะยาวด้วยเช่นกัน
แบบไม่ไว้ใจการทรยศหักหลังของมาเลย์
ขณะเดียวกันมาเลย์ก็พยายามโฆษณาชวนเชื่อว่า
ภาษา Bahasa Malay แทนเดิมที่ใช้คำว่า Bahasa Indonesia
เพราะความกร่างว่า ชาติตนตอนนี้เจริญกว่าอินโดนีเซีย
ที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกและยากจนกว่ามาเลย์
ทำให้คนอินโดนีเซียต้องหลบหนีเข้าไปทำงาน
ใช้แรงงานหรือเป็นคนรับใช้ที่มาเลย์จำนวนมากเช่นกัน
แต่เดิมคำว่า ภาษาอินโดนีเซียนี้ใช้กันมาก
ในบรรดาชนเผ่าต่าง ๆ ตามหมู่เกาะต่าง ๆ ว่า ภาษาอินโด
แบบเป็นภาษากลางใช้ในการติดต่อสื่อสารและค้าขายกัน
แต่มาเลย์จัดการเล่นแร่แปรธาตุพร้อมกับการสมคบคิดกับอังกฤษ
พยายามทำให้เรียกว่า ภาษามาเลย์ แทนภาษาอินโดนีเซีย
และเหมารวมว่า เผ่าพันธุ์มาเลย์มีมากมายเหลือคณานับตามที่ต่าง ๆ
ทั้ง ๆ ที่แต่เดิมมีชนเผ่าพันธุ์ต่าง ๆ จำนวนมากในภูมิภาคนี้
ประวัติศาสตร์ชาติพันธ์ุมาเลย์ก็ยอมรับเองว่า
ชนเผ่ามาเลย์เดิมอพยพ/หนีตายมาจากอินเดีย
ประกอบอาชีพส่วนใหญ่เป็นชาวประมง/กะลาสีเรือ/โจรสลัด
ในอดีต ชาวมาเลย์มักจะแล่นเรือตระเวณไปร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ