ฟิสิกส์และเต๋า เรียนรู้ซึ่งกัน
หนังสือทางวิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ชื่อว่า The Tao of Physics” (เต๋าแห่งฟิสิกส์) เขียนโดย ฟริตจ๊อฟ คาปรา (Fritjof Capra) วเนช แปลและเรียบเรียง
หนังสือเล่มนี้ควรตั้งชื่อว่า
เต๋าเรียนรู้ฟิสิกส์ หรือ
ฟิสิกส์เรียนรู้เต๋า
จะเห็นชัดเจน ไปเรียนรู้กัน
ไม่ใช่เอา ๒ อย่างมาปนเปกัน แล้วเรามอง
เป็นการเอา ๒ อย่างมารวมกัน
เอา ๒ หลักมาเข้าใจกัน แต่ไม่ได้เอามารวมกัน ซึ่งเอามารวมกันไม่ได้ เพราะเป็นคนละแนวทาง ไม่งั้นเราจะสับสน เราเอาแต่ละข้างมารวมกันได้ แต่เอามารวมกันไม่ได้
ถ้าเราอยู่ศาสนาพุทธ แต่มาเรียนรู้ศาสนาคริสต์ แล้วมาบอกว่าศาสนานั้นดี ศาสนานี้ไม่ดี อย่างนี้ไม่ได้ ก็จะถกเถียงกันไม่มีที่สิ้นสุด แต่ถ้าเราเอาศาสนาพุทธ กับศาสนาคริสต์มาเข้าใจกัน จะดีกว่า เช่น เราอยู่ศาสนาพุทธ มาเรียนรู้ศาสนาคริสต์ หรือศาสนาคริสต์มาเรียนรู้ศาสนาพุทธอย่างนี้จะดีกว่า เป็นแนวคิดที่ถูกต้อง ถ้าทำอย่างนี้ไม่มีใครผิด จะได้ไม่เป็นปรปักษ์กัน
เราจะต้องเรียนรู้ทั้ง ๒ ฝั่งแล้วมาทำความเข้าใจกัน ถึงจะไม่เป็นปรปักษ์ ถ้าเอามารวมกัน
ข้างในเป็นปรปักษ์ แล้วจะไปต่อได้อย่างไร
ถ้าเราศึกษาโดยถ่องแท้เราก็จะเข้าใจ เราจะต้องศึกษาทั้ง ๒ ฝั่งแล้วทำความเข้าใจกัน
เราไม่ใช่เอาสิ่งหนึ่งแล้วไปศึกษาอีกสิ่งหนึ่ง มันคนละเรื่องกัน เราต้องศึกษาของเขา นี่ก็ของเขา แล้วก็มาเอื้อกัน
แล้วถ้าเราจะมาเปรียบเทียบก็ได้อยู่ แต่ต้องยอมรับซึ่งกันและกัน เอื้อ-เกื้อ-กัน เคารพซึ่งกันและกัน
สมมติว่าตรงนี้เราดี เราก็ต้องเคารพว่า สิ่งที่เขาบอกว่าเขา "ดี" เพราะว่า "ดี" ในสภาพแวดล้อมของเขา แต่สิ่งที่เราว่า "ดี" มันดีแต่สภาพแวดล้อมของเรา นี่แหละ เอื้อซึ่งกันและกัน
ยกตัวอย่างเช่น คนบอกว่าอยู่บนดอยดี แต่ถ้าเขาอยู่ติดทะเล เขาก็บอกว่าอยู่ใกล้ทะเลดี นี่แหละ เพราะว่าสิ่งแวดล้อมไม่เหมือนกัน
เวลาเขาปีนขึ้นบนดอย เราเหนื่อย เราก็ไปหัวเราะเยาะเขา แต่เวลาเราลงน้ำแล้วเราว่ายน้ำไม่ได้ เขาก็หัวเราะเรา นี่แหละ ต้องเข้าใจกัน
เราต้องบอกว่าเราสรุปบนพื้นฐานอะไร เช่น เราอยู่ศาสนาพุทธแล้วมองคริสต์ เป็นต้น เช่น เราอยู่บนภูเขามอง กับอยู่ข้างล่างมอง ทั้งๆ เห็นสิ่งเดียวกันก็มองเห็นไม่เหมือนกัน เป็นต้น ฉะนั้น จึงไม่มีใครถูกใครผิด
เวลาเราสรุป เราก็ต้องบอกว่า เราสรุปบนพื้นฐานอยู่บนตึกชั้น ๑๐ นะ หรือเราสรุปอยู่ข้างล่างตึกชั้น ๑ นะ ฯลฯ
เราอยู่บนพื้นฐานคนจนมองอย่างนี้นะ หรือเราอยู่บนพื้นฐานเป็นคนรวยมองอย่างนี้นะ
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต
ฟิสิกส์และเต๋า เรียนรู้ซึ่งกัน
หนังสือทางวิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ชื่อว่า The Tao of Physics” (เต๋าแห่งฟิสิกส์) เขียนโดย ฟริตจ๊อฟ คาปรา (Fritjof Capra) วเนช แปลและเรียบเรียง
หนังสือเล่มนี้ควรตั้งชื่อว่า เต๋าเรียนรู้ฟิสิกส์ หรือฟิสิกส์เรียนรู้เต๋า
จะเห็นชัดเจน ไปเรียนรู้กัน
ไม่ใช่เอา ๒ อย่างมาปนเปกัน แล้วเรามอง
เป็นการเอา ๒ อย่างมารวมกัน
เอา ๒ หลักมาเข้าใจกัน แต่ไม่ได้เอามารวมกัน ซึ่งเอามารวมกันไม่ได้ เพราะเป็นคนละแนวทาง ไม่งั้นเราจะสับสน เราเอาแต่ละข้างมารวมกันได้ แต่เอามารวมกันไม่ได้
ถ้าเราอยู่ศาสนาพุทธ แต่มาเรียนรู้ศาสนาคริสต์ แล้วมาบอกว่าศาสนานั้นดี ศาสนานี้ไม่ดี อย่างนี้ไม่ได้ ก็จะถกเถียงกันไม่มีที่สิ้นสุด แต่ถ้าเราเอาศาสนาพุทธ กับศาสนาคริสต์มาเข้าใจกัน จะดีกว่า เช่น เราอยู่ศาสนาพุทธ มาเรียนรู้ศาสนาคริสต์ หรือศาสนาคริสต์มาเรียนรู้ศาสนาพุทธอย่างนี้จะดีกว่า เป็นแนวคิดที่ถูกต้อง ถ้าทำอย่างนี้ไม่มีใครผิด จะได้ไม่เป็นปรปักษ์กัน
เราจะต้องเรียนรู้ทั้ง ๒ ฝั่งแล้วมาทำความเข้าใจกัน ถึงจะไม่เป็นปรปักษ์ ถ้าเอามารวมกัน ข้างในเป็นปรปักษ์ แล้วจะไปต่อได้อย่างไร
ถ้าเราศึกษาโดยถ่องแท้เราก็จะเข้าใจ เราจะต้องศึกษาทั้ง ๒ ฝั่งแล้วทำความเข้าใจกัน
เราไม่ใช่เอาสิ่งหนึ่งแล้วไปศึกษาอีกสิ่งหนึ่ง มันคนละเรื่องกัน เราต้องศึกษาของเขา นี่ก็ของเขา แล้วก็มาเอื้อกัน
แล้วถ้าเราจะมาเปรียบเทียบก็ได้อยู่ แต่ต้องยอมรับซึ่งกันและกัน เอื้อ-เกื้อ-กัน เคารพซึ่งกันและกัน
สมมติว่าตรงนี้เราดี เราก็ต้องเคารพว่า สิ่งที่เขาบอกว่าเขา "ดี" เพราะว่า "ดี" ในสภาพแวดล้อมของเขา แต่สิ่งที่เราว่า "ดี" มันดีแต่สภาพแวดล้อมของเรา นี่แหละ เอื้อซึ่งกันและกัน
ยกตัวอย่างเช่น คนบอกว่าอยู่บนดอยดี แต่ถ้าเขาอยู่ติดทะเล เขาก็บอกว่าอยู่ใกล้ทะเลดี นี่แหละ เพราะว่าสิ่งแวดล้อมไม่เหมือนกัน
เวลาเขาปีนขึ้นบนดอย เราเหนื่อย เราก็ไปหัวเราะเยาะเขา แต่เวลาเราลงน้ำแล้วเราว่ายน้ำไม่ได้ เขาก็หัวเราะเรา นี่แหละ ต้องเข้าใจกัน
เราต้องบอกว่าเราสรุปบนพื้นฐานอะไร เช่น เราอยู่ศาสนาพุทธแล้วมองคริสต์ เป็นต้น เช่น เราอยู่บนภูเขามอง กับอยู่ข้างล่างมอง ทั้งๆ เห็นสิ่งเดียวกันก็มองเห็นไม่เหมือนกัน เป็นต้น ฉะนั้น จึงไม่มีใครถูกใครผิด
เวลาเราสรุป เราก็ต้องบอกว่า เราสรุปบนพื้นฐานอยู่บนตึกชั้น ๑๐ นะ หรือเราสรุปอยู่ข้างล่างตึกชั้น ๑ นะ ฯลฯ
เราอยู่บนพื้นฐานคนจนมองอย่างนี้นะ หรือเราอยู่บนพื้นฐานเป็นคนรวยมองอย่างนี้นะ
^_^ ..._/\_... ^_^
ขอความเคารพ หากผู้รู้มีสิ่งชี้แนะ น้อมรับฟังเสมอ และขอความกรุณาแย้ง ชี้แจง ชี้แนะ แม้แต่ต้องการให้เพิ่มเติมสิ่งใด ก็ขอได้บอกกล่าวมา
อ.พรหมสิทธิ์ ทิพย์ธาดาวงศ์
เอื้อ-เกื้อ-กัน เป็นกัลยาณมิตรทุกขณะจิต