คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ส่วนใหญ่การชำระเงินสมัยนี้จะโอนเงินกันโดยส่วนใหญ่ดังนั้นทางบัญชีคือจะไปผูกกับยอดการโอนตรวจสอบกลับได้ว่ามีการชำระจริง ถ้าไม่มีการชำระฟ้องร้องกันก็เป็นหลักฐานกันได้ว่าชำระหรือไม่ชำระ ที่จำเป็นต้องออกใบเสร็จล่วงหน้าเพราะคนโอนก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจะ ออกใบเสร็จให้ทันจ่ายภาษีมั้ยเพราะโอนกันทุกสิ้นเดือน ถ้าออกใบเสร็จช้าก็โดนค่าปรับภาษีอีก.
กรณีรับเช็คหรือเงินสด ยังไงก็ต้องออกใบเสร็จวันจ่ายเงินหรือเช็คออกจริงอยู่แล้วครับ
ก็เอาให้สมดุลย์กันครับ. ปรับ ๆ กันไปให้เข้าหากัน. หาวิธีการที่เหมาะสมทั้งสองฝ่าย ค้าขายกันอย่าสร้างเงื่อนไขกันเยอะ เยอะมาก ๆ เข้าก็ไม่อยากทำธุรกิจด้วยก็เท่านั้น
ตอบไม่ค่อยตรงหัวข้อเลยแหะ
เอาเป็นว่าตัวหนังสือตรงนั้นอาจจะไม่ค่อยมีผลมากนักครับยังไงทางกฏหมายดูตามข้อเท็จจริงเป็นหลักเสมอครับ
กรณีรับเช็คหรือเงินสด ยังไงก็ต้องออกใบเสร็จวันจ่ายเงินหรือเช็คออกจริงอยู่แล้วครับ
ก็เอาให้สมดุลย์กันครับ. ปรับ ๆ กันไปให้เข้าหากัน. หาวิธีการที่เหมาะสมทั้งสองฝ่าย ค้าขายกันอย่าสร้างเงื่อนไขกันเยอะ เยอะมาก ๆ เข้าก็ไม่อยากทำธุรกิจด้วยก็เท่านั้น
ตอบไม่ค่อยตรงหัวข้อเลยแหะ
เอาเป็นว่าตัวหนังสือตรงนั้นอาจจะไม่ค่อยมีผลมากนักครับยังไงทางกฏหมายดูตามข้อเท็จจริงเป็นหลักเสมอครับ
แสดงความคิดเห็น
อยากทราบว่าข้อความในใบเสร็จรับเงินมีผลทางกฎหมายหรือไม่อย่างไร ครับ
"ใบเสร็จรับเงินฉบับนี้จะสมบูรณ์ต่อเมื่อมีลายเซ็นของพนักงานเก็บเงินและเช็คของท่าน เรียกเก็บจากธนาคารได้ครบถ้วนแล้วหรือบริษัทฯ ได้รับเงินโอนเข้าบัญชีครบถ้วนแล้ว"
คำถามถามว่า ข้อความด้านล่างในใบเสร็จต่างๆ มีผลทางกฎหมายได้หรือไม่อย่างไรครับ เนื่องจากเข้าใจว่าได้แต่มีบุคลากรของรัฐบาลท่านนึงบอกว่าข้อความดังกล่าวไม่มีผลบังคับใช้ทางกฎหมาย ซึ่งเหมือนว่าถ้าให้ ต้นฉบับใบเสร็จรับเงินลูกค้าแล้ว ถือว่าบริษัทได้รับชำระเรียบร้อยแล้ว