ขออธิบายเกี่ยวกับงานที่ทำนะคะ
- เป็นบุคคลธรรมดา , ทำเว็บไซต์แนะนำโบรกเกอร์ต่างประเทศ ให้กับคนทั่วโลก
- มีรายได้ค่านายหน้า จากการแนะนำลูกค้าทั่วโลก ให้เข้าไปเทรดตลาดหุ้นกับโบรกเกอร์ในต่างประเทศ
- ซึ่งลูกค้า ก็จะมีทั้งคนไทย และ ต่างชาติ
- ซึ่งรายได้ที่ได้รับนั้นเป็นค่า Commission จาก Volume การเทรดของลูกค้า ที่โบรกเกอร์(บริษัท)จากต่างประเทศโอนมาให้
ขั้นตอนในการเกิดเงินได้
- เราทำหน้าที่แค่ แนะนำลูกค้าว่าโบรกเกอร์ใน ตปท. นั้น มีผลิตภัณฑ์หุ้นตัวไหนให้ซื้อขายบ้าง
- และเป็นการแนะนำผ่านทาง Website เท่านั้น
- โดย Server ของ Website ที่ทำนั้นตั้งอยู่ในต่างประเทศ
- และการที่ลูกค้าจะเปิดบัญชีกับ Broker , ลงทุนซื้อหุ้นใดๆนั้น เป็นการตัดสินใจส่วนตัวของลูกค้า
* เราไม่ได้มีรายได้เกิดขึ้น เมื่อลูกค้าเปิดบัญชีผ่านเว็บไซต์ของเรา
- แต่เราจะมีรายได้เกิดขึ้น ต่อเมื่อลูกค้า "ได้ทำการซื้อหุ้นเท่านั้น"
- และหุ้นทุกตัวนั้น เป็นหุ้นของต่างประเทศทั้งหมด ไม่มีหุ้นของไทยเกี่ยวข้องเลย
- เมื่อลูกค้ามีการซื้อหุ้นกับโบรกเกอร์ตปท. , โบรกเกอร์ก็จะคิดค่า Commission จากจำนวนที่ซื้อแล้วค่อยโอนมาให้เรา
- ตรงจุดนี้ เข้าใจว่าเป็น Tax Point
* ประเด็นปัญหา การทำธุรกิจในรูปแบบดังกล่าวกับ VAT สามารถตีความได้ 3,4 รูปแบบ
1. เป็นการให้บริการในไทย และได้มีการใช้บริการในต่างประเทศ
- เนื่องจากเจ้าของเว็บไซต์อยู่ไทย , ที่ตั้ง Server ของ Website อาจไม่มีน้ำหนักที่จะนำมาใช้อ้างอิงเป็นแหล่งเกิดเงินได้
- แต่เนื่องจากบริการทั้งหมด เหมือนถูกส่งออกไปต่างประเทศทั้งหมด จึงถือเป็นการใช้บริการในต่างประเทศ
- ถ้าเป็นแบบนี้ได้สิทธิ์ Vat อัตรา 0%
* แต่ก็เกิดการตีความที่สับสนได้
- เพราะในกรณีที่จะเข้าข่ายลักษณะนี้ โดยปกติ "ต้องเป็นการหาลูกค้าในต่างประเทศ ให้ไปใช้บริการบริษัทต่างประเทศเท่านั้น"
- แต่นี่มีลูกค้าไทยด้วย
- และขั้นตอนในการเงินได้ มันไม่ได้เหมือนกรณีทั่วๆไป จึงอาจไปเข้าข่าย "ส่งออกบริการไปยังต่างประเทศทั้งหมด"
(โปรดย้อนไปดูขั้นตอนการเกิดเงินได้ ด้านบน)
2. เป็นการให้บริการในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการในต่างประเทศ
- ถ้าเป็นแบบนี้ไม่ต้องยื่น Vat เลย เพราะ Out of Scope
- แต่ก็อาจเกิดปัญหาในการตีความเหมือนเดิม เพราะถึงแม้ Server ของ Website จะอยู่ในต่างประเทศ
- แต่เจ้าของกิจการอยู่ประเทศไทยตลอดทั้งปี จึงอาจถือว่าเป็ยการให้บริการในไทยแทน
3. เป็นการให้บริการในไทยหรือต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการในไทย
- ถ้าเป็นแบบนี้ เสีย Vat 7%
- เพราะมีลูกค้าในไทยด้วย จึงอาจเข้าข่ายเป็นการให้บริการในไทย
- หรืออาจจะต้องแยกยื่น Vat แยกเฉพาะส่วนรายได้ที่เกิดจากลูกค้าไทย
- แต่มันก็จะกลับไปสับสนการตีความเรื่อง "เป็นการส่งออกบริการทั้งหมดออกไป ตปท. หรือไม่" ตามเคสแรก
ข้อมูลเพิ่มเติม
- โบรกเกอร์ต่างประเทศ ไม่มีสาขาในไทย
- เจ้าของกิจการไม่มีสถานประกอบการในไทย เพราะทำเป็นอาชีพอิสระ ใช้เว็บไซต์เป็นหลักในการหาลูกค้า
* ตอนนี้ขอตัดประเด็นเรื่อง การพักเงินไว้ต่างประเทศ แล้วรอข้ามปีภาษี เพื่อได้รับสิทธิ์ยกเว้นภาษีในไทย ออกไปก่อนนะคะ
- เนื่องจากมันสายไปแล้วที่จะใช้วิธีนั้น ตอนนั้นไม่มีความรู้ , กลยุทธ์นั้นจะเก็บไว้ใช้ปีถัดไปค่ะ
ธุรกิจที่ทำอยู่ ต้องเสีย Vat 7% หรือไม่ , รบกวนพี่ๆช่วยตีความให้หน่อยค่ะ
- มีรายได้ค่านายหน้า จากการแนะนำลูกค้าทั่วโลก ให้เข้าไปเทรดตลาดหุ้นกับโบรกเกอร์ในต่างประเทศ
- ซึ่งลูกค้า ก็จะมีทั้งคนไทย และ ต่างชาติ
- ซึ่งรายได้ที่ได้รับนั้นเป็นค่า Commission จาก Volume การเทรดของลูกค้า ที่โบรกเกอร์(บริษัท)จากต่างประเทศโอนมาให้
- และเป็นการแนะนำผ่านทาง Website เท่านั้น
- โดย Server ของ Website ที่ทำนั้นตั้งอยู่ในต่างประเทศ
- และการที่ลูกค้าจะเปิดบัญชีกับ Broker , ลงทุนซื้อหุ้นใดๆนั้น เป็นการตัดสินใจส่วนตัวของลูกค้า
* เราไม่ได้มีรายได้เกิดขึ้น เมื่อลูกค้าเปิดบัญชีผ่านเว็บไซต์ของเรา
- แต่เราจะมีรายได้เกิดขึ้น ต่อเมื่อลูกค้า "ได้ทำการซื้อหุ้นเท่านั้น"
- และหุ้นทุกตัวนั้น เป็นหุ้นของต่างประเทศทั้งหมด ไม่มีหุ้นของไทยเกี่ยวข้องเลย
- เมื่อลูกค้ามีการซื้อหุ้นกับโบรกเกอร์ตปท. , โบรกเกอร์ก็จะคิดค่า Commission จากจำนวนที่ซื้อแล้วค่อยโอนมาให้เรา
- ตรงจุดนี้ เข้าใจว่าเป็น Tax Point
- เนื่องจากเจ้าของเว็บไซต์อยู่ไทย , ที่ตั้ง Server ของ Website อาจไม่มีน้ำหนักที่จะนำมาใช้อ้างอิงเป็นแหล่งเกิดเงินได้
- แต่เนื่องจากบริการทั้งหมด เหมือนถูกส่งออกไปต่างประเทศทั้งหมด จึงถือเป็นการใช้บริการในต่างประเทศ
- ถ้าเป็นแบบนี้ได้สิทธิ์ Vat อัตรา 0%
* แต่ก็เกิดการตีความที่สับสนได้
- เพราะในกรณีที่จะเข้าข่ายลักษณะนี้ โดยปกติ "ต้องเป็นการหาลูกค้าในต่างประเทศ ให้ไปใช้บริการบริษัทต่างประเทศเท่านั้น"
- แต่นี่มีลูกค้าไทยด้วย
- และขั้นตอนในการเงินได้ มันไม่ได้เหมือนกรณีทั่วๆไป จึงอาจไปเข้าข่าย "ส่งออกบริการไปยังต่างประเทศทั้งหมด"
(โปรดย้อนไปดูขั้นตอนการเกิดเงินได้ ด้านบน)
2. เป็นการให้บริการในต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการในต่างประเทศ
- ถ้าเป็นแบบนี้ไม่ต้องยื่น Vat เลย เพราะ Out of Scope
- แต่ก็อาจเกิดปัญหาในการตีความเหมือนเดิม เพราะถึงแม้ Server ของ Website จะอยู่ในต่างประเทศ
- แต่เจ้าของกิจการอยู่ประเทศไทยตลอดทั้งปี จึงอาจถือว่าเป็ยการให้บริการในไทยแทน
3. เป็นการให้บริการในไทยหรือต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการในไทย
- ถ้าเป็นแบบนี้ เสีย Vat 7%
- เพราะมีลูกค้าในไทยด้วย จึงอาจเข้าข่ายเป็นการให้บริการในไทย
- หรืออาจจะต้องแยกยื่น Vat แยกเฉพาะส่วนรายได้ที่เกิดจากลูกค้าไทย
- แต่มันก็จะกลับไปสับสนการตีความเรื่อง "เป็นการส่งออกบริการทั้งหมดออกไป ตปท. หรือไม่" ตามเคสแรก
- เจ้าของกิจการไม่มีสถานประกอบการในไทย เพราะทำเป็นอาชีพอิสระ ใช้เว็บไซต์เป็นหลักในการหาลูกค้า
* ตอนนี้ขอตัดประเด็นเรื่อง การพักเงินไว้ต่างประเทศ แล้วรอข้ามปีภาษี เพื่อได้รับสิทธิ์ยกเว้นภาษีในไทย ออกไปก่อนนะคะ
- เนื่องจากมันสายไปแล้วที่จะใช้วิธีนั้น ตอนนั้นไม่มีความรู้ , กลยุทธ์นั้นจะเก็บไว้ใช้ปีถัดไปค่ะ