หนังสือself-helpพัฒนาตนสอนเรื่องวินัย บังคับตัวเอง แต่พระพุทธเจ้าท่านสอนมานาน2500 ปีแล้วใช่ไหม ท่านสอนว่าอย่างไรบ้าง

ในหนังสือ "กำจัดข้ออ้างสุดท้ายออกจากชีวิต" เล่มนี้ "ไบรอัน เทรซี่" นักเขียนชื่อดังระดับโลก จะมาเผย 21 เทคนิคกำจัดข้ออ้างอย่างได้ผล จนคุณไม่สามารถหาเหตุผลที่จะไม่ลงมือทำอีกต่อไป โดยเรียบเรียงจากหนังสือนับพันเล่มและประสบการณ์ตรง ในการให้คำปรึกษาด้านการบริหารมานานกว่า 40 ปี อ่านหนังสือเล่มนี้ แล้วจะไม่เหลือข้ออ้างใดที่ฉุดรั้งคุณไว้ได้อีกต่อไป!

สารบัญ
- บทนำ ความมหัศจรรย์ของการมีวินัยในตัวเอง

ส่วนที่ 1 ความมีวินัยในตัวเองกับความสำเร็จในเรื่องส่วนตัว
- บทที่ 1 ความมีวินัยในตัวเองกับความสำเร็จ
- บทที่ 2 ความมีวินัยในตัวเองกับลักษณะนิสัย
- บทที่ 3 ความมีวินัยในตัวเองกับความรับผิดชอบ
ฯลฯ
https://www.se-ed.com/product/กำจัดข้ออ้างสุดท้ายออกจากชีวิต-No-Excuses.aspx?no=9786162872969&nomobile=true
แก้ไขข้อความเมื่อ
คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
ความคิดเห็นที่ 1

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

เกี่ยวข้องกันเพียงแต่ 3344432 ไม่รู้เรื่องขาดความเข้าในพุทธพจน์  ศึกษาธรรมแบบนกแก้ว
ก็คือท่องจำไม่ใช่พิจารณาธรรม   เวลาเห็นคำที่ไม่เหมือนกันก็เลยเข้าว่าเป็นคนละเรื่องกัน
ซึ่งแท้ที่จริงแล้ว  มันเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
อ่านจากบทนำของจขกท  มันเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับวินัย  ซึ่งพระพุทธองค์ท่านก็ทรงสอนเรื่องวินัย
ที่คนไทยหลงไปเรียกผิดๆว่า ศีล (๕..๑๐..๒๒๗) แท้ที่จริงแล้วมันเป็นวินัยของชาวพุทธ

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
โดยรวมแล้วพระพุทธเจ้าไม่ได้สอนแค่ทุกข์  เพียงแค่ทุกข์เป็นบัญญัติหนึ่งในสิ่งที่พระพุทธองค์ทรงยกขึ้รนมาสอน
สิ่งที่พระพุทธองค์สอนต้องเรียกว่า....ธรรมะหรือก็คือสัจจะธรรมของโลก

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

คำสอนของพระพุทธเจ้าไม่ได้ทำให้เราพ้นทุกข์  คำว่าพ้นทุกข์เป็นคำที่พวกสอนธรรมแต่ไม่เข้าพุทธพจน์
ไปหยิบเอาพุทธพจน์มาละเลงสอนแบบผิดๆ   สิ่งที่พระพุทธเจ้าสอนคือ  ให้รู้ทุกข์เข้าถึงสัจจะแห่งทุกข์
เมื่อรู้และเห็นทุกข์แล้วจะได้ไม่เอาทุกข์ไปปรุงแต่งให้เกิดทุกข์ตัวใหม่..ทุกข์เกิดตามเหตุ(หลีกเลี่ยงไม่ได้)
ทุกข์จะดับเมื่อเหตุดับ  แต่ปุถุชนไม่รู้ทุกข์จึงมักชอบจะร้างหรือปรุงแต่งทุกข์ซ้ำซาก

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

คำสอนของพระโคดมพุทธเจ้า  เรียกว่า  ธรรมะ(Dhamma)  อริยสัจสี่เป็นเพียงคำอุปมาที่ยกขึ้นมาเพื่ออธิบายธรรมะ
อริยสัจจสี่ ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่า  เป็นเรื่องของอริยชน  พิจารณาให้ดี  อริยสัจจ์ เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง ปุถุชนและอริยชน
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่