โครงการเสริมทรายชายหาดที่พัทยาเหนือ ทำเสร็จได้แค่ไม่กี่เดือนก็ประสบปัญหาการกัดเซาะจากคลื่นและน้ำฝนที่ไหลปนน้ำเสีย
จนปลายแหลมพัทยาเหนือมีสภาพเป็นกระสอบทรายชัดเจน
บนพื้นทรายชายหาดพัทยาเหนือก็ถูกน้ำฝนปนน้ำเสียไหลตรงจากแนวทางเท้าที่นายกแป๊ะ สนธยา คุณปลื้ม สั่งการอย่างเร่งด่วนให้ลดระดับทางเท้า จนน้ำไหลบ่า กัดผิวชายหาดเป็นร่องลึก (ตุลาคม 2561)
ไม่กี่วันนี้พบเห็นการขนหินก้อนใหญ่จำนวนมากไปกองไว้ที่ชายหาดพัทยาเหนือและมีรถเร่งทำงานตอนกลางคืน
อย่าลืมว่าเมืองพัทยาเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม โครงการเสริมทรายชายหาด เป็นโครงการที่ต้องผ่านการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข้อมูลในเล่มรายงานเป็นเงื่อนไขที่บังคับใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้เอง
การนำหินขนาดใหญ่มาปูบนชายหาดลักษณะหาดหินทิ้งแบบนี้ หน่วยงานไหนเป็นผู้อนุญาต? สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต้องตรวจสอบและชี้แจง
โครงการเสริมทรายหาดพัทยามูลค่าเกือบ 500 ล้านบาทเป็นโครงการนำร่องของประเทศไทยโครงการแรก
ที่ผ่านมากรมเจ้าท่าล้มเหลวในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายหาดมาแล้วหลายพื้นที่
นักวิชาการหลายท่านได้พยายามอธิบายว่าใช่หาดเป็นแนวธรรมชาติที่ไม่มีความแน่นอน
ภูมิปัญญาชาวบ้านจากคนพื้นที่ที่อาศัยอยู่ในพัทยามายาวนานอธิบายว่าทรายที่ชายหาดพัทยาเหนือและพัทยาใต้จะถูกกัดเซาะสลับฤดูกาล
ในอดีตทรายจากพัทยาเหนือจะถูกพัดไปขึ้นฝั่งที่พัทยาใต้ขณะที่บางฤดูจะมีพัดทรายจากพัทยาใต้กลับมาที่พัทยาเหนือ
องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่นหรือไจก้า เคยเข้ามาศึกษาและระบุว่าการรุกล้ำชายหาดพัทยาใต้บริเวณโครงการวอล์คกิ้งสตรีทเป็นต้นเหตุของการกัดเซาะชายหาดอ่าวพัทยา ได้เสนอให้มีการพิจารณาหรือถอนอาคาร 101 หลังคาเรือนในโครงการวอล์คกิ้งสตรีทฝั่งทะเล
จนนำมาสู่รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการปรับปรุงพื้นที่อ่าวพัทยาใต้ ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการก่อสร้างท่าเทียบเรือพัทยาใต้ และการรื้อถอนอาคาร 101 หลังคาเรือน คณะรัฐมนตรีมีมติตามรายงานดังกล่าวที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้เสนอตั้งแต่ปี 2541
การรื้อถอนอาคาร 101 หลังคาเรือนไม่เคยมีความคืบหน้า ขณะที่เจ้าท่า พยายามผลักดันโครงการเสริมทรายชายหาดพัทยามานานหลายปี
ถ้าโครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จก็จะเป็นตัวอย่างของความล้มเหลวให้พื้นที่อื่นคัดค้านโครงการเสริมทรายชายหาด
กรมเจ้าท่าต้องตอบให้ชัดเจน
=68.ARB0eSgQrfu6i3oZL2vBvPKDVQ_NewVhvr8H6dN5YUiyv95WSnq9JY1fmQc3r22TtO0dwPskcum-t15QJrHLz-6VH5A6wcTr6UG5pLaxjMYaXITYVoA5TH_DW08WyZs3ydTIB3CvcBOx3EcrjyELtKSpYgAffywLH6Q0sJw7vKqIRe4UD-C0j0ObvdNdJb2KBdkIkxfU9qGrVfL2ZU8MjI6rtQVz21nKojIAEh95NW4JsvnfAE6gfC6pShH5ETkHuCozRjkgrDfc4uQxwfvmogVA7D1i-cWswB0CLBXFVITq7lP0MpLvsgYCKFaqf6IiZnAvdV6fE4IQbTRSYblkKqqar0zkE3dkPBxjcWKOaydDnIOE_OeINab3&__tn__=-R]https://www.facebook.com/PattayaWatchdog/posts/2258477044197204?__xts__[0]=68.ARB0eSgQrfu6i3oZL2vBvPKDVQ_NewVhvr8H6dN5YUiyv95WSnq9JY1fmQc3r22TtO0dwPskcum-t15QJrHLz-6VH5A6wcTr6UG5pLaxjMYaXITYVoA5TH_DW08WyZs3ydTIB3CvcBOx3EcrjyELtKSpYgAffywLH6Q0sJw7vKqIRe4UD-C0j0ObvdNdJb2KBdkIkxfU9qGrVfL2ZU8MjI6rtQVz21nKojIAEh95NW4JsvnfAE6gfC6pShH5ETkHuCozRjkgrDfc4uQxwfvmogVA7D1i-cWswB0CLBXFVITq7lP0MpLvsgYCKFaqf6IiZnAvdV6fE4IQbTRSYblkKqqar0zkE3dkPBxjcWKOaydDnIOE_OeINab3&__tn__=-R
เสริมทรายชายหาด หรือเสริมหินชายหาด? #พัทยาไม่เอาหาดหิน
จนปลายแหลมพัทยาเหนือมีสภาพเป็นกระสอบทรายชัดเจน
บนพื้นทรายชายหาดพัทยาเหนือก็ถูกน้ำฝนปนน้ำเสียไหลตรงจากแนวทางเท้าที่นายกแป๊ะ สนธยา คุณปลื้ม สั่งการอย่างเร่งด่วนให้ลดระดับทางเท้า จนน้ำไหลบ่า กัดผิวชายหาดเป็นร่องลึก (ตุลาคม 2561)
ไม่กี่วันนี้พบเห็นการขนหินก้อนใหญ่จำนวนมากไปกองไว้ที่ชายหาดพัทยาเหนือและมีรถเร่งทำงานตอนกลางคืน
อย่าลืมว่าเมืองพัทยาเป็นพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม โครงการเสริมทรายชายหาด เป็นโครงการที่ต้องผ่านการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ข้อมูลในเล่มรายงานเป็นเงื่อนไขที่บังคับใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้เอง
การนำหินขนาดใหญ่มาปูบนชายหาดลักษณะหาดหินทิ้งแบบนี้ หน่วยงานไหนเป็นผู้อนุญาต? สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต้องตรวจสอบและชี้แจง
โครงการเสริมทรายหาดพัทยามูลค่าเกือบ 500 ล้านบาทเป็นโครงการนำร่องของประเทศไทยโครงการแรก
ที่ผ่านมากรมเจ้าท่าล้มเหลวในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายหาดมาแล้วหลายพื้นที่
นักวิชาการหลายท่านได้พยายามอธิบายว่าใช่หาดเป็นแนวธรรมชาติที่ไม่มีความแน่นอน
ภูมิปัญญาชาวบ้านจากคนพื้นที่ที่อาศัยอยู่ในพัทยามายาวนานอธิบายว่าทรายที่ชายหาดพัทยาเหนือและพัทยาใต้จะถูกกัดเซาะสลับฤดูกาล
ในอดีตทรายจากพัทยาเหนือจะถูกพัดไปขึ้นฝั่งที่พัทยาใต้ขณะที่บางฤดูจะมีพัดทรายจากพัทยาใต้กลับมาที่พัทยาเหนือ
องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่นหรือไจก้า เคยเข้ามาศึกษาและระบุว่าการรุกล้ำชายหาดพัทยาใต้บริเวณโครงการวอล์คกิ้งสตรีทเป็นต้นเหตุของการกัดเซาะชายหาดอ่าวพัทยา ได้เสนอให้มีการพิจารณาหรือถอนอาคาร 101 หลังคาเรือนในโครงการวอล์คกิ้งสตรีทฝั่งทะเล
จนนำมาสู่รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการปรับปรุงพื้นที่อ่าวพัทยาใต้ ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการก่อสร้างท่าเทียบเรือพัทยาใต้ และการรื้อถอนอาคาร 101 หลังคาเรือน คณะรัฐมนตรีมีมติตามรายงานดังกล่าวที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้เสนอตั้งแต่ปี 2541
การรื้อถอนอาคาร 101 หลังคาเรือนไม่เคยมีความคืบหน้า ขณะที่เจ้าท่า พยายามผลักดันโครงการเสริมทรายชายหาดพัทยามานานหลายปี
ถ้าโครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จก็จะเป็นตัวอย่างของความล้มเหลวให้พื้นที่อื่นคัดค้านโครงการเสริมทรายชายหาด
กรมเจ้าท่าต้องตอบให้ชัดเจน
=68.ARB0eSgQrfu6i3oZL2vBvPKDVQ_NewVhvr8H6dN5YUiyv95WSnq9JY1fmQc3r22TtO0dwPskcum-t15QJrHLz-6VH5A6wcTr6UG5pLaxjMYaXITYVoA5TH_DW08WyZs3ydTIB3CvcBOx3EcrjyELtKSpYgAffywLH6Q0sJw7vKqIRe4UD-C0j0ObvdNdJb2KBdkIkxfU9qGrVfL2ZU8MjI6rtQVz21nKojIAEh95NW4JsvnfAE6gfC6pShH5ETkHuCozRjkgrDfc4uQxwfvmogVA7D1i-cWswB0CLBXFVITq7lP0MpLvsgYCKFaqf6IiZnAvdV6fE4IQbTRSYblkKqqar0zkE3dkPBxjcWKOaydDnIOE_OeINab3&__tn__=-R]https://www.facebook.com/PattayaWatchdog/posts/2258477044197204?__xts__[0]=68.ARB0eSgQrfu6i3oZL2vBvPKDVQ_NewVhvr8H6dN5YUiyv95WSnq9JY1fmQc3r22TtO0dwPskcum-t15QJrHLz-6VH5A6wcTr6UG5pLaxjMYaXITYVoA5TH_DW08WyZs3ydTIB3CvcBOx3EcrjyELtKSpYgAffywLH6Q0sJw7vKqIRe4UD-C0j0ObvdNdJb2KBdkIkxfU9qGrVfL2ZU8MjI6rtQVz21nKojIAEh95NW4JsvnfAE6gfC6pShH5ETkHuCozRjkgrDfc4uQxwfvmogVA7D1i-cWswB0CLBXFVITq7lP0MpLvsgYCKFaqf6IiZnAvdV6fE4IQbTRSYblkKqqar0zkE3dkPBxjcWKOaydDnIOE_OeINab3&__tn__=-R