ขอเรียนเชิญนักเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ร่วมพูดคุยเรื่อง pm 2.5 ครับ

ตามที่มีปัญหาฝุ่น pm 2.5 ในเมืองหลวง ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เกิน absorptive capacity (ขีดความสามารถของร่างกายในการรองรับฝุ่นและสารพิษที่ฝุ่นนำพาเข้ากระแสเลือด ผลคือการป่วยในระยะสั้นและระยะยาว)

ref. http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/oi/authority.20110803095345670


และ เกิน carrying capacity ของระบบ ทำให้ค่าของฝุ่นลดลงต่ำกว่า 25 มคก./ลบม. ไม่ได้

ref.
https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/ambient-(outdoor)-air-quality-and-health

หากพิจารณากราฟ Figure 1: Typical environmental economist's graph showing costs and benefits of pollution control

https://www.uow.edu.au/~sharonb/economics.html

ถามว่า การสร้างเครื่องฟอกอากาศขนาดใหญ่ทุก 10 ตร.กม. อย่างที่จีนทำ จะตอบโจทย์ส่วนหนึ่งได้ไหมครับ

https://m.scmp.com/news/china/society/article/2128355/china-builds-worlds-biggest-air-purifier-and-it-seems-be-working

https://m.phys.org/news/2018-04-china-big-smog-air-purifier.html


(ผมไม่พูดเรื่องมาตรการระยะสั้นที่กำลังดำเนินอยู่นะครับ เพราะรัฐและเอกชนตื่นตัว พยายาม minimize pollution อยู่แล้ว)
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่