คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
เงื่อนไข คิดง่ายๆตามนี้นะครับ
1.บ้าน 1 หลัง นำมาดอกฯมาคิดลดหย่อนสูงสุดได้ไม่เกิน 1 แสนบาท
2.สิทธิ์ในการลดหย่อน 1 คน สามารถยื่นลดหย่อนได้สูงสุด 100,000 บาท
สัญญา1 (ขอเรียกว่าบ้าน1)
บ้าน1 กู้ร่วม กรณีของ จขกท. กู้ร่วม 3 คน ก็เอาดอกหาร 3 ครับ
อย่าง จขกท. ลงมาว่า จ่ายดอกเบี้ย 180,000 บาท แต่สรรพากรให้คิดได้สูงสุดได้แค่ 100,000 บาท
ก็เอามาหาร 3 เลยครับ (100,000 / 3 = 33333.33 บาท)
สัญญา2 (ขอเรียกว่าบ้าน2)
บ้าน2 กู้คนเดียว ดอกเบี้ย 5,000 บาท
สรุป จขกท. สามารถคีย์ลดหย่อนได้ 33,333.33 + 5000 = 38,333.33 บาท ตามแบบที่ 2 ที่ จขกท. คิดไว้นั่นแหละครับ
ตามไปอ่านที่เวปของสรรพากรได้ครับ --->>> http://www.rd.go.th/publish/60060.0.html
1.บ้าน 1 หลัง นำมาดอกฯมาคิดลดหย่อนสูงสุดได้ไม่เกิน 1 แสนบาท
2.สิทธิ์ในการลดหย่อน 1 คน สามารถยื่นลดหย่อนได้สูงสุด 100,000 บาท
สัญญา1 (ขอเรียกว่าบ้าน1)
บ้าน1 กู้ร่วม กรณีของ จขกท. กู้ร่วม 3 คน ก็เอาดอกหาร 3 ครับ
อย่าง จขกท. ลงมาว่า จ่ายดอกเบี้ย 180,000 บาท แต่สรรพากรให้คิดได้สูงสุดได้แค่ 100,000 บาท
ก็เอามาหาร 3 เลยครับ (100,000 / 3 = 33333.33 บาท)
สัญญา2 (ขอเรียกว่าบ้าน2)
บ้าน2 กู้คนเดียว ดอกเบี้ย 5,000 บาท
สรุป จขกท. สามารถคีย์ลดหย่อนได้ 33,333.33 + 5000 = 38,333.33 บาท ตามแบบที่ 2 ที่ จขกท. คิดไว้นั่นแหละครับ
ตามไปอ่านที่เวปของสรรพากรได้ครับ --->>> http://www.rd.go.th/publish/60060.0.html
แสดงความคิดเห็น
ดอกเบี้ยบ้าน ลดภาษี เคสแบบนี้คำนวณยังไงครับ
เคสของผม
สัญญา 1 กู้ร่วม 3 คน (A,B,C) ดอกเบี้ย 180,000
สัญญา 2 กู้คนเดียว (A) ดอกเบี้ย 5,000
คำนวนค่าลดหย่อนสำหรับ A อย่างไรระหว่าง
1) เอาดอกเบี้ยสัญญา 1 หาร 3 คนก่อน แล้วรวมกับดอกเบี้ยสัญญา 2 > (180,000/3) + 5,000 = 65,000 บาท (ไม่เกิน 100,000 บาทสำหรับ A)
2) เอาดอกเบี้ยสัญญา 1 ตัดที่ 100,000 แล้วค่อยหาร 3 คน แล้วรวมกับดอกเบี้ยสัญญา 2 > (100,000/3) + 5,000 = 38,333.33 บาท