"
พายุไต้ฝุ่นเกย์ (อังกฤษ: Typhoon Gay) : เป็นพายุหมุนเขตร้อนทรงพลังซึ่งสร้างความ
เสียหายอย่างหนักในจังหวัดชุมพร และประเทศอินเดียฝั่งตะวันออกในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เป็นพายุไต้ฝุ่นครั้ง
เลวร้ายที่สุดที่เกิดขึ้นในคาบสมุทรมลายูรอบ 35 ปี พายุก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ในอ่าวไทยตอนล่าง ข้ามคาบสมุทรมลายู เคลื่อนเข้าไปในมหาสมุทรอินเดียเหนือ และทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุหมุนระดับ 5 ก่อนขึ้นฝั่งในประเทศอินเดีย และสลายตัวเหนือเทือกเขากัตส์ตะวันตกในอินเดีย เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน"
"
พายุปาบึก (PABUK) : เป็นพายุดีเปรสชัน บริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่างได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน พายุปาบึก (PABUK) แล้ว โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 6.1 องศาเหนือ ลองจิจูด 109.8 องศาตะวันออก ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศใต้ค่อนทางตะวันตกเล็กน้อยอย่างช้าๆ คาดว่าจะเคลื่อนผ่านปลายแหลมญวน และเคลื่อนลงอ่าวไทยในช่วงวันที่ 2-3 มกราคม 2562 โดยจะมีผลกระทบต่อภาคใต้ในช่วงวันที่ 3-5 มกราคม 2562 ทำให้บริเวณดังกล่าวมีฝนเพิ่มมากขึ้นและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณดังกล่าวระวังอันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากไว้ด้วย"
ตอนนั้นทางภาครัฐและเอกชนไทยรับมือกับไต้ฝุ่นเกย์ยังไงบ้าง การประกาศข่าว การคาดการณ์ การอุตุนิยมวิทยา การอพยพพลเรือนในเขตที่ประสบภัย
ทำใมความเสียหายถึงเกิดกับคนไทยเยอะมาก
ความเสียหายในประเทศไทย
พายุเกย์ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตไปถึง 446 คน บาดเจ็บ 154 คน บ้านเรือนเสียหาย 38,002 หลัง ประชาชนเดือดร้อน 153,472 คน เรือล่ม 391 ลำ ถนนเสียหาย 579 เส้น สะพาน 131 แห่ง ทำนบและฝาย 49 แห่ง โรงเรียนพัง 160 โรง วัด 93 วัด มัสยิด 6 แห่ง พื้นที่การเกษตร 80,900,105 ไร่ (129,440.168 ตร.กม.) สัตว์เลี้ยงตาย 83,490 ตัว ประเมินความเสียหาย 11,257,265,265 บาท นอกจากนี้ยังมีรายงานเรือขุดเจาะน้ำมันซีเครสต์อับปางลงนอกชายฝั่ง มีลูกเรือเสียชีวิต 91 คน[4] รวมผู้เสียชีวิตทั้งหมด 537 คน
อีกตัวอย่างที่โหด
พายุโซนร้อนแฮเรียตที่ถล่มตะลุมพุก
"พายุโซนร้อนแฮเรียส่งผลกระทบต่อ 12 จังหวัดในภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงจังหวัดนราธิวาส มีผู้เสียชีวิต 911 คน สูญหาย 142 คน บาดเจ็บสาหัส 252 คน ไร้ที่อยู่อาศัย 16,170 คน อาคารบ้านเรือนทั่วทั้งจังหวัดพัง 22,296 หลัง ชำรุด 50,775 หลัง โรงเรียนพังเสียหาย 435 แห่ง สวนยางสวนผลไม้เสียหายประมาณ 790 ล้านต้น สถานที่ราชการ โรงเรียน วัด การไฟฟ้า และสถานีวิทยุ สถานีตำรวจ เสียหายหนัก ต้นไม้โค่นล้มขวางทางยาวนับสิบกิโลเมตร รถไฟด่วนสายใต้ต้องหยุดเดินรถ เพราะภูเขามีดินพังทลายทับรางระหว่างสถานีรถไฟช่องเขากับสถานีรถไฟร่อนพิบูลย์ ประเมินความเสียหาย 377-1,000 ล้านบาท"
ภาพถ่ายทางอากาศของพายุไต้ฝุ่นเกย์
เส้นทางการเคลื่อนที่ของพายุไต้ฝุ่นเกย์
คาดการณ์การเคลื่อนที่ของพายุปลาบึก
เพิ่มเติม
มาตราความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนของ คณะกรรมการไต้ฝุ่นของ ESCAP/WMO
ประเภท ความเร็วลมต่อเนื่อง
พายุไต้ฝุ่น ≥64 นอต ≥118 กม./ชม.
พายุโซนร้อนกำลังแรง 48–63 นอต 89–117 กม./ชม.
พายุโซนร้อน 34–47 นอต 62–88 กม./ชม.
พายุดีเปรสชันเขตร้อน ≤33 นอต ≤61 กม./ชม.
ที่มา :
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_2036263
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%9D%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B9%8C
เห็นหลายคนติงชื่อ "ปาบึก" มาขอบคุณนะครับ
ผมขออธิบายตามนี้นะครับ
ในเจตจำนงค์ผมอยากให้เข้าใจที่มาของชื่อ
เลยปริวรรตจากภาษาลาวมาเป็นภาษาไทยให้คนไทยเข้าใจมากขึ้นครับ
ปาบึก ถ้าคนไทยอ่านคงเข้าใจว่า
เขวี้ยงอะไรซักอย่าง
เลยเขียนเป็น
ปลาบึก ให้คนไทยเข้าใจที่มาของชื่อพายุและความหมายของคำ .. อันนี้ตามความเข้าใจผมเองนะครับ หลายคนอาจจะเข้าใจความหมายแล้วก้ได้ ขอบคุณที่ชี้แนะครับ
"ใต้ฝุ่นเกย์"เมื่อเทียบกับ "ปลาบึก" การเตือนภัยต่างกันอย่างไร ทำใมความเสียหายจึงเกิดขึ้นเยอะ?
"พายุปาบึก (PABUK) : เป็นพายุดีเปรสชัน บริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่างได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน พายุปาบึก (PABUK) แล้ว โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ละติจูด 6.1 องศาเหนือ ลองจิจูด 109.8 องศาตะวันออก ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางทิศใต้ค่อนทางตะวันตกเล็กน้อยอย่างช้าๆ คาดว่าจะเคลื่อนผ่านปลายแหลมญวน และเคลื่อนลงอ่าวไทยในช่วงวันที่ 2-3 มกราคม 2562 โดยจะมีผลกระทบต่อภาคใต้ในช่วงวันที่ 3-5 มกราคม 2562 ทำให้บริเวณดังกล่าวมีฝนเพิ่มมากขึ้นและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณดังกล่าวระวังอันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากไว้ด้วย"
ตอนนั้นทางภาครัฐและเอกชนไทยรับมือกับไต้ฝุ่นเกย์ยังไงบ้าง การประกาศข่าว การคาดการณ์ การอุตุนิยมวิทยา การอพยพพลเรือนในเขตที่ประสบภัย
ทำใมความเสียหายถึงเกิดกับคนไทยเยอะมาก
ความเสียหายในประเทศไทย
พายุเกย์ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตไปถึง 446 คน บาดเจ็บ 154 คน บ้านเรือนเสียหาย 38,002 หลัง ประชาชนเดือดร้อน 153,472 คน เรือล่ม 391 ลำ ถนนเสียหาย 579 เส้น สะพาน 131 แห่ง ทำนบและฝาย 49 แห่ง โรงเรียนพัง 160 โรง วัด 93 วัด มัสยิด 6 แห่ง พื้นที่การเกษตร 80,900,105 ไร่ (129,440.168 ตร.กม.) สัตว์เลี้ยงตาย 83,490 ตัว ประเมินความเสียหาย 11,257,265,265 บาท นอกจากนี้ยังมีรายงานเรือขุดเจาะน้ำมันซีเครสต์อับปางลงนอกชายฝั่ง มีลูกเรือเสียชีวิต 91 คน[4] รวมผู้เสียชีวิตทั้งหมด 537 คน
อีกตัวอย่างที่โหด
พายุโซนร้อนแฮเรียตที่ถล่มตะลุมพุก
"พายุโซนร้อนแฮเรียส่งผลกระทบต่อ 12 จังหวัดในภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไปถึงจังหวัดนราธิวาส มีผู้เสียชีวิต 911 คน สูญหาย 142 คน บาดเจ็บสาหัส 252 คน ไร้ที่อยู่อาศัย 16,170 คน อาคารบ้านเรือนทั่วทั้งจังหวัดพัง 22,296 หลัง ชำรุด 50,775 หลัง โรงเรียนพังเสียหาย 435 แห่ง สวนยางสวนผลไม้เสียหายประมาณ 790 ล้านต้น สถานที่ราชการ โรงเรียน วัด การไฟฟ้า และสถานีวิทยุ สถานีตำรวจ เสียหายหนัก ต้นไม้โค่นล้มขวางทางยาวนับสิบกิโลเมตร รถไฟด่วนสายใต้ต้องหยุดเดินรถ เพราะภูเขามีดินพังทลายทับรางระหว่างสถานีรถไฟช่องเขากับสถานีรถไฟร่อนพิบูลย์ ประเมินความเสียหาย 377-1,000 ล้านบาท"
ภาพถ่ายทางอากาศของพายุไต้ฝุ่นเกย์
เส้นทางการเคลื่อนที่ของพายุไต้ฝุ่นเกย์
คาดการณ์การเคลื่อนที่ของพายุปลาบึก
เพิ่มเติม
มาตราความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนของ คณะกรรมการไต้ฝุ่นของ ESCAP/WMO
ประเภท ความเร็วลมต่อเนื่อง
พายุไต้ฝุ่น ≥64 นอต ≥118 กม./ชม.
พายุโซนร้อนกำลังแรง 48–63 นอต 89–117 กม./ชม.
พายุโซนร้อน 34–47 นอต 62–88 กม./ชม.
พายุดีเปรสชันเขตร้อน ≤33 นอต ≤61 กม./ชม.
ที่มา :
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เห็นหลายคนติงชื่อ "ปาบึก" มาขอบคุณนะครับ
ผมขออธิบายตามนี้นะครับ
ในเจตจำนงค์ผมอยากให้เข้าใจที่มาของชื่อ
เลยปริวรรตจากภาษาลาวมาเป็นภาษาไทยให้คนไทยเข้าใจมากขึ้นครับ
ปาบึก ถ้าคนไทยอ่านคงเข้าใจว่า เขวี้ยงอะไรซักอย่าง
เลยเขียนเป็น ปลาบึก ให้คนไทยเข้าใจที่มาของชื่อพายุและความหมายของคำ .. อันนี้ตามความเข้าใจผมเองนะครับ หลายคนอาจจะเข้าใจความหมายแล้วก้ได้ ขอบคุณที่ชี้แนะครับ