บางบท บางวรรค บางตอน..
บทว่า ปญฺจนฺนํ ขนฺธานํ นิโรโธ นิจฺจํ นิพฺพานนฺติ ปสฺสนฺโต เมื่อพิจารณาเห็นว่าความดับแห่งเบญจขันธ์เป็นนิพพานเที่ยง คือเมื่อพิจารณาเห็นว่า นิพพานเที่ยงด้วยอำนาจแห่งญาณอันเป็นทางสงบ ในกาลแห่งวิปัสสนาตามที่กล่าวแล้วในอาทีนวญาณนิเทศ.
บทว่า สมฺมตฺตนิยามํ โอกฺกมติ ย่อมหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม คือย่อมหยั่งลงในขณะแห่งมรรค ก็ชื่อว่าหยั่งลงในขณะแห่งผลด้วย ในปริยายแห่งการหยั่งลงในนิยามทั้งหมดก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า อาโรคยํ คือ ความไม่มีโรค.
บทว่า วิสลฺลํ คือ ปราศจากลูกศร.
ในบทเช่นนี้ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า อนาพาธํ คือ ปราศจากอาพาธ หรือเป็นปฏิปักษ์ต่ออาพาธ.
ในบทเช่นนี้ก็นัยนี้.
บทว่า อปรปจฺจยํ คือ ปราศจากปัจจัยอื่น. อาจารย์บางพวกกล่าวประกอบกันว่า อุปสฺสคฺคโตติ จ อนุปสฺสคฺคนฺติ จ เห็นขันธ์ ๕ โดยมีอุปสรรคและนิพพานไม่มีอุปสรรค.
บทว่า ปรมสุญฺญํ สูญอย่างยิ่ง ชื่อว่าสูญอย่างยิ่ง เพราะสูญจากสังขารทั้งหมด และเพราะสูญอย่างสูงสุด.
บทว่า ปรมตฺถํ มีประโยชน์อย่างสูงสุด เพราะเป็นของเลิศกว่าสังขตะและอสังขตะ เป็นนปุงสกลิงค์เพราะลิงควิปลาส.
ท่านไม่กล่าวปริยายโดยอนุโลมในสองบทนี้ เพราะนิพพานเป็นของสูญและเพราะเป็นอนัตตา.
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ย้ำ..
บทว่า ปรมสุญฺญํ สูญอย่างยิ่ง ชื่อว่าสูญอย่างยิ่ง เพราะสูญจากสังขารทั้งหมด และเพราะสูญอย่างสูงสุด.
บทว่า ปรมตฺถํ มีประโยชน์อย่างสูงสุด เพราะเป็นของเลิศกว่าสังขตะและอสังขตะ เป็นนปุงสกลิงค์เพราะลิงควิปลาส.
ท่านไม่กล่าวปริยายโดยอนุโลมในสองบทนี้ เพราะนิพพานเป็นของสูญและเพราะเป็นอนัตตา.
คำว่า..
ท่านไม่กล่าวปริยายโดยอนุโลมในสองบทนี้ เพราะนิพพานเป็นของสูญและเพราะเป็นอนัตตา.
แสดงว่าผู้เขียนอรรถกถาไม่เห็นเห็นด้วยกับ 2 บทข้างบน ใช่หรือไม่ ?
และถามว่า
ยุคอรรกถานี้ เป็นยุคที่เผด็จการพราหมณ์ฮินดูครองเมืองหรือเปล่า ?
เพราะมันดูเหมือนจะทำตามคำสั่งยังไงก็ไม่รุ้
แบบเต็มเชิญที่นี่เลยครับ
https://ppantip.com/forum/new_topic
ผลงานอรรถกถาสูตรนี้ ถูกเขียนขึ้นในยุคไหน ?
บทว่า ปญฺจนฺนํ ขนฺธานํ นิโรโธ นิจฺจํ นิพฺพานนฺติ ปสฺสนฺโต เมื่อพิจารณาเห็นว่าความดับแห่งเบญจขันธ์เป็นนิพพานเที่ยง คือเมื่อพิจารณาเห็นว่า นิพพานเที่ยงด้วยอำนาจแห่งญาณอันเป็นทางสงบ ในกาลแห่งวิปัสสนาตามที่กล่าวแล้วในอาทีนวญาณนิเทศ.
บทว่า สมฺมตฺตนิยามํ โอกฺกมติ ย่อมหยั่งลงสู่สัมมัตตนิยาม คือย่อมหยั่งลงในขณะแห่งมรรค ก็ชื่อว่าหยั่งลงในขณะแห่งผลด้วย ในปริยายแห่งการหยั่งลงในนิยามทั้งหมดก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า อาโรคยํ คือ ความไม่มีโรค.
บทว่า วิสลฺลํ คือ ปราศจากลูกศร.
ในบทเช่นนี้ก็มีนัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า อนาพาธํ คือ ปราศจากอาพาธ หรือเป็นปฏิปักษ์ต่ออาพาธ.
ในบทเช่นนี้ก็นัยนี้.
บทว่า อปรปจฺจยํ คือ ปราศจากปัจจัยอื่น. อาจารย์บางพวกกล่าวประกอบกันว่า อุปสฺสคฺคโตติ จ อนุปสฺสคฺคนฺติ จ เห็นขันธ์ ๕ โดยมีอุปสรรคและนิพพานไม่มีอุปสรรค.
บทว่า ปรมสุญฺญํ สูญอย่างยิ่ง ชื่อว่าสูญอย่างยิ่ง เพราะสูญจากสังขารทั้งหมด และเพราะสูญอย่างสูงสุด.
บทว่า ปรมตฺถํ มีประโยชน์อย่างสูงสุด เพราะเป็นของเลิศกว่าสังขตะและอสังขตะ เป็นนปุงสกลิงค์เพราะลิงควิปลาส.
ท่านไม่กล่าวปริยายโดยอนุโลมในสองบทนี้ เพราะนิพพานเป็นของสูญและเพราะเป็นอนัตตา.
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ย้ำ..
บทว่า ปรมสุญฺญํ สูญอย่างยิ่ง ชื่อว่าสูญอย่างยิ่ง เพราะสูญจากสังขารทั้งหมด และเพราะสูญอย่างสูงสุด.
บทว่า ปรมตฺถํ มีประโยชน์อย่างสูงสุด เพราะเป็นของเลิศกว่าสังขตะและอสังขตะ เป็นนปุงสกลิงค์เพราะลิงควิปลาส.
ท่านไม่กล่าวปริยายโดยอนุโลมในสองบทนี้ เพราะนิพพานเป็นของสูญและเพราะเป็นอนัตตา.
คำว่า..
ท่านไม่กล่าวปริยายโดยอนุโลมในสองบทนี้ เพราะนิพพานเป็นของสูญและเพราะเป็นอนัตตา.
แสดงว่าผู้เขียนอรรถกถาไม่เห็นเห็นด้วยกับ 2 บทข้างบน ใช่หรือไม่ ?
และถามว่า
ยุคอรรกถานี้ เป็นยุคที่เผด็จการพราหมณ์ฮินดูครองเมืองหรือเปล่า ?
เพราะมันดูเหมือนจะทำตามคำสั่งยังไงก็ไม่รุ้
แบบเต็มเชิญที่นี่เลยครับ
https://ppantip.com/forum/new_topic