ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีการจัดการแบ่งหัวเมืองต่าง ๆ ที่สำคัญในประเทศไทยสมัยก่อน แบ่งเป็น
หัวเมืองลาวพวน ได้แก่ หนองคาย (เวียงจันทร์, เชียงคาน, พานพร้าว, ธุรคมสิงห์สถิตย์, กุมภวาปี, รัตนวาปี), เชียงขวาง, บริคันทนิคมล คำม่วน, มุดกาหาร (พาลุการ, หนองสูง), นครพนม (วัง, เรณูนคร, รามราช, อาจสามารถล อากาศอำนวย), สกลนคร (กุสุมาลย์มณฑล, พรรณานิคม, วาริชภูมิ, โพธิ์ไพศาล, จำปาชนบท, วานรนิวาส), ขอนแก่น (พล, ภูเวียง, มัญจาคีรี, คำพองน้อย), หล่มสัก (เลย, หล่มเก่า, วังสะพุง), บุรีรัมย์ (นางรอง), คำเกิด, ท่าอุเทน, บึงกาฬ, โพนพิสัย, หนองบัวลำภู, หนองหานใหญ่
หัวเมืองลาวกลาง ได้แก่ นครราชสีมา (พิมาย, รัตนบุรี, นครจันทึก, ปักธงไชย, พุทไธสง, ประโคนชัย, สูงเนิน, โชคชัย), ชนบถวิบูลย์ (ชัยภูมิ, โนนลาว, เกษตรสมบูรณ์, จัตุรัส), ภูเขียว, วิเชียรบุรี (ชัยบาดาล, บัวชุม), เพชรบูรณ์
หัวเมืองลาวกาว ได้แก่ นครจำปาศักดิ์ (คำทองน้อย, เซลำเพา, โพนทอง, นครเพ็ง, กุสุมาลย์คีรี, วาปีไพบูลย์, มธุรสาผล, สระพังภูผา, อุทุมพร, โคมประดิษฐ์, สุดวารี, สุวรรณคีรี, สุดสาคร, วารินชำราบ, บุณฑริก), สีทันดร, คำทองใหญ่, สุรินทร์ (สุรพินนิคม, ชุมพลบุรี), สังขะ (พรมขัณฑ์), ขุขันธ์ (มโนไพร, กันทรลักษณ์, อุทุมพรพิสัย, ภูวดลสะอาง), เชียงแตง, แสนปาง, อัตปือ, สาละวัน, เดชอุดม, อุบลราชธานี (เสนางคนิคม, พิบูลมังษาหาร, ตระการพืชผล, มหาชนะชัย, ชานุมานมณฑล, พนานิคม, เกษมสีมา), ร้อยเอ็ด (ธวัชบุรี), สุวรรณภูมิ (เกษตรวิสัย, พนมไพร, จตุรพักตร์พิมาน, พยัคฆภูมิพิสัย), กาฬสินธุ์ (แซงบาดาล, กุฉิมนารายณ์, ท่าขอนยาง, กันทรวิชัย, สหัสขันธ์), มหาสารคาม (วาปีปทุม, โกสุมพิสัย), กมลาไสย (เสลภูมิ), ศรีสะเกษ (ราษีไศล), เขมราฐธานี (โขมเจียม, สะเมียะ, คำเขื่อนแก้ว, อำนาจเจริญ), สองคอนดอนดง, นอง, ยโสธร, ภูแล่นช้าง
หัวเมืองเหนือ ได้แก่ อุตรดิตถ์, สุโขทัย, สวรรคโลก, กำแพงเพชร, พิจิตร, นครสวรรค์, อุทัยธานี, พยุหะคีรี, ชัยนาท, มโนรมย์, สรรคบุรี, สิงห์บุรี, อินทร์บุรี, พรหมบุรี, อ่างทอง, อยุธยา, ลพบุรี, สระบุรี, ปทุมธานี, กาญจนบุรี, สุพรรณบุรี, นครปฐม, ไทรโยค, ศรีสวัสดิ์, ราชบุรี, นครนายก, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, ฉะเชิงเทรา, พนมสารคาม
หัวเมืองใต้ ได้แก่ เพชรบุรี, ปราณบุรี, กุยบุรี, คอลงวาฬ (ประจวบคีรีขันธ์), ชุมพร, ไชยา (สุราษฎร์ธานี), กาญจนดิษฐ์, นครศรีธรรมราช, สทิงปุระ (พัทลุง)
หัวเมืองมลายู ได้แก่ ไทรบุรี, กลันตัน, ตรังกานู, ปะลิส, สตูล, สิงหนคร (สงขลา), ปัตตานี, ยะลา, ระแงะ (นราธิวาส), รามันห์, สายบุรี, หนองจิก, ยะหริ่ง
หัวเมืองล้านนา ได้แก่ เชียงใหม่ (ฝาง,เชียงราย,เชียงแสน,ตาก,ปาย,เถิน,เวียงป่าเป้า,แม่ฮ่องสอน,ขุนยวม), ลำปาง (พะเยา,งาว), ลำพูน, แพร่ (สอง), น่าน (เชียงของ,เทิง,ภูคา,สา,เชียงคำ)
หัวเมืองชายทะเลตะวันตก ได้แก่ กระบุรี, ระนอง, พังงา, ตะกั่วป่า, ตะกั่วทุง, ถลาง (ภูเก็ต), กระบี่, ตรัง
หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ได้แก่ ปากน้ำ (สมุทรปราการ), ชลบุรี, บางละมุง, ระยอง, จันทบุรี, ตราด, นนทบุรี, แม่กลอง (สมุทรสงคราม), สาครบุรี (สมุทรสาคร)
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้จัดระบบมณฑบเทศาภิบาล แบ่งเป็น
ภาคเหนือ 4 มณฑล
ภาคอีสาน 3 มณฑล
ภาคตะวันออก 3 มณฑล
ภาคกลาง 4 มณฑล
ภาคใต้ 4 มณฑล
เมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤต ร.ศ.112 สูญเสียบางส่วนของหนองคาย ยกเว้น เชียงคาน, กุมภาวปี, รัตนวาปี
เมื่อปีพุทธศักราช 2446 สูญเสียงนครจำปาศักดิ์, สีทันดร, คำทองใหญ่, เชียงแตง, อัตปือ, แสนปาง, สาละวัน, สองคอนดอนดง, นอง ยกเว้น วารินชำราบ, บุณฑริก รวมไว้ที่เมืองอุบลราชธานี
ปีพุทธศักราช 2449 สูญเสียมณฑลบูรพา คือ พระตระบอง, เสียมราฐ, ศรีโสภณ
ปีพุทธศักราช 2451 สูญเสียมณฑลไทรบุรี ทำให้สตูลโอนย้ายไปอยู่มณฑลภูเก็ต
ปีพุทธศักราช 2458 เกิดมณฑลมหาราษฎร์, มณฑลร้อยเอ็ด, มณฑลอุบล
ปีพุทธศักราช 2460 ยุบมณฑลเพชรบูรณ์ รวมกับฒณฑลพิษณุโลก
ปีพุทธศักราช 2468 ยุบมณฑลมหาราษฎร์ รวมกับมณฑลพายัพ, มณฑลร้องเอ็ดและมณฑลอุบล รวมกับมณฑลนครราชสีมา, มณฑลสุราษฎร์ รวมกับมณฑลนครศรีธรรมราช
ปีพุทธศักราช 2475 ยุบมณฑลนครชัยศรี รวมไว้กับมณฑลราชบุรี, มณฑลจัทบุรี รวมกับมณฑลปราจีนบุรี, มณฑลปัตตานี รวมกับมณฑลนครศรีธรรมราช, มณฑลนครสวรรค์ รวมกับมณฑลอุธยา ยกเว้น กำแพงเพชร, ตาก รวมกับมณฑลพิษณุโลก
ปีพุทธศักราช 2476 มณฑลทั้งหมดได้ยุบตัวลงทั้งหมด
หัวเมืองสำคัญในประเทศไทย
หัวเมืองลาวพวน ได้แก่ หนองคาย (เวียงจันทร์, เชียงคาน, พานพร้าว, ธุรคมสิงห์สถิตย์, กุมภวาปี, รัตนวาปี), เชียงขวาง, บริคันทนิคมล คำม่วน, มุดกาหาร (พาลุการ, หนองสูง), นครพนม (วัง, เรณูนคร, รามราช, อาจสามารถล อากาศอำนวย), สกลนคร (กุสุมาลย์มณฑล, พรรณานิคม, วาริชภูมิ, โพธิ์ไพศาล, จำปาชนบท, วานรนิวาส), ขอนแก่น (พล, ภูเวียง, มัญจาคีรี, คำพองน้อย), หล่มสัก (เลย, หล่มเก่า, วังสะพุง), บุรีรัมย์ (นางรอง), คำเกิด, ท่าอุเทน, บึงกาฬ, โพนพิสัย, หนองบัวลำภู, หนองหานใหญ่
หัวเมืองลาวกลาง ได้แก่ นครราชสีมา (พิมาย, รัตนบุรี, นครจันทึก, ปักธงไชย, พุทไธสง, ประโคนชัย, สูงเนิน, โชคชัย), ชนบถวิบูลย์ (ชัยภูมิ, โนนลาว, เกษตรสมบูรณ์, จัตุรัส), ภูเขียว, วิเชียรบุรี (ชัยบาดาล, บัวชุม), เพชรบูรณ์
หัวเมืองลาวกาว ได้แก่ นครจำปาศักดิ์ (คำทองน้อย, เซลำเพา, โพนทอง, นครเพ็ง, กุสุมาลย์คีรี, วาปีไพบูลย์, มธุรสาผล, สระพังภูผา, อุทุมพร, โคมประดิษฐ์, สุดวารี, สุวรรณคีรี, สุดสาคร, วารินชำราบ, บุณฑริก), สีทันดร, คำทองใหญ่, สุรินทร์ (สุรพินนิคม, ชุมพลบุรี), สังขะ (พรมขัณฑ์), ขุขันธ์ (มโนไพร, กันทรลักษณ์, อุทุมพรพิสัย, ภูวดลสะอาง), เชียงแตง, แสนปาง, อัตปือ, สาละวัน, เดชอุดม, อุบลราชธานี (เสนางคนิคม, พิบูลมังษาหาร, ตระการพืชผล, มหาชนะชัย, ชานุมานมณฑล, พนานิคม, เกษมสีมา), ร้อยเอ็ด (ธวัชบุรี), สุวรรณภูมิ (เกษตรวิสัย, พนมไพร, จตุรพักตร์พิมาน, พยัคฆภูมิพิสัย), กาฬสินธุ์ (แซงบาดาล, กุฉิมนารายณ์, ท่าขอนยาง, กันทรวิชัย, สหัสขันธ์), มหาสารคาม (วาปีปทุม, โกสุมพิสัย), กมลาไสย (เสลภูมิ), ศรีสะเกษ (ราษีไศล), เขมราฐธานี (โขมเจียม, สะเมียะ, คำเขื่อนแก้ว, อำนาจเจริญ), สองคอนดอนดง, นอง, ยโสธร, ภูแล่นช้าง
หัวเมืองเหนือ ได้แก่ อุตรดิตถ์, สุโขทัย, สวรรคโลก, กำแพงเพชร, พิจิตร, นครสวรรค์, อุทัยธานี, พยุหะคีรี, ชัยนาท, มโนรมย์, สรรคบุรี, สิงห์บุรี, อินทร์บุรี, พรหมบุรี, อ่างทอง, อยุธยา, ลพบุรี, สระบุรี, ปทุมธานี, กาญจนบุรี, สุพรรณบุรี, นครปฐม, ไทรโยค, ศรีสวัสดิ์, ราชบุรี, นครนายก, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, ฉะเชิงเทรา, พนมสารคาม
หัวเมืองใต้ ได้แก่ เพชรบุรี, ปราณบุรี, กุยบุรี, คอลงวาฬ (ประจวบคีรีขันธ์), ชุมพร, ไชยา (สุราษฎร์ธานี), กาญจนดิษฐ์, นครศรีธรรมราช, สทิงปุระ (พัทลุง)
หัวเมืองมลายู ได้แก่ ไทรบุรี, กลันตัน, ตรังกานู, ปะลิส, สตูล, สิงหนคร (สงขลา), ปัตตานี, ยะลา, ระแงะ (นราธิวาส), รามันห์, สายบุรี, หนองจิก, ยะหริ่ง
หัวเมืองล้านนา ได้แก่ เชียงใหม่ (ฝาง,เชียงราย,เชียงแสน,ตาก,ปาย,เถิน,เวียงป่าเป้า,แม่ฮ่องสอน,ขุนยวม), ลำปาง (พะเยา,งาว), ลำพูน, แพร่ (สอง), น่าน (เชียงของ,เทิง,ภูคา,สา,เชียงคำ)
หัวเมืองชายทะเลตะวันตก ได้แก่ กระบุรี, ระนอง, พังงา, ตะกั่วป่า, ตะกั่วทุง, ถลาง (ภูเก็ต), กระบี่, ตรัง
หัวเมืองชายทะเลตะวันออก ได้แก่ ปากน้ำ (สมุทรปราการ), ชลบุรี, บางละมุง, ระยอง, จันทบุรี, ตราด, นนทบุรี, แม่กลอง (สมุทรสงคราม), สาครบุรี (สมุทรสาคร)
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้จัดระบบมณฑบเทศาภิบาล แบ่งเป็น
ภาคเหนือ 4 มณฑล
ภาคอีสาน 3 มณฑล
ภาคตะวันออก 3 มณฑล
ภาคกลาง 4 มณฑล
ภาคใต้ 4 มณฑล
เมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤต ร.ศ.112 สูญเสียบางส่วนของหนองคาย ยกเว้น เชียงคาน, กุมภาวปี, รัตนวาปี
เมื่อปีพุทธศักราช 2446 สูญเสียงนครจำปาศักดิ์, สีทันดร, คำทองใหญ่, เชียงแตง, อัตปือ, แสนปาง, สาละวัน, สองคอนดอนดง, นอง ยกเว้น วารินชำราบ, บุณฑริก รวมไว้ที่เมืองอุบลราชธานี
ปีพุทธศักราช 2449 สูญเสียมณฑลบูรพา คือ พระตระบอง, เสียมราฐ, ศรีโสภณ
ปีพุทธศักราช 2451 สูญเสียมณฑลไทรบุรี ทำให้สตูลโอนย้ายไปอยู่มณฑลภูเก็ต
ปีพุทธศักราช 2458 เกิดมณฑลมหาราษฎร์, มณฑลร้อยเอ็ด, มณฑลอุบล
ปีพุทธศักราช 2460 ยุบมณฑลเพชรบูรณ์ รวมกับฒณฑลพิษณุโลก
ปีพุทธศักราช 2468 ยุบมณฑลมหาราษฎร์ รวมกับมณฑลพายัพ, มณฑลร้องเอ็ดและมณฑลอุบล รวมกับมณฑลนครราชสีมา, มณฑลสุราษฎร์ รวมกับมณฑลนครศรีธรรมราช
ปีพุทธศักราช 2475 ยุบมณฑลนครชัยศรี รวมไว้กับมณฑลราชบุรี, มณฑลจัทบุรี รวมกับมณฑลปราจีนบุรี, มณฑลปัตตานี รวมกับมณฑลนครศรีธรรมราช, มณฑลนครสวรรค์ รวมกับมณฑลอุธยา ยกเว้น กำแพงเพชร, ตาก รวมกับมณฑลพิษณุโลก
ปีพุทธศักราช 2476 มณฑลทั้งหมดได้ยุบตัวลงทั้งหมด