ในพระไตรปิฏก เถรวาท ได้กล่าวในทำนองทีผมเขียนเป็นหัวข้อกระทู้ไว้
.
เมื่อมาวิเคราะห์ เหตุ และ ปัจจัย ในทำนองทีว่า
เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ จึงมี
จะได้ว่า
.
เบื่อหน่าย - นิพพิทา คือ เหคุ ทีเกิดขึ้น
ผลก็คือ การคลายกำหนัด ซี่งก็คือ การสิ้นตัณหา
.
คลายกำหนัด เป็น เหตุ
ผลก็คือ การหลุดพ้น
.
ท่านคิดว่า เบื่อหน่าย ทีเป็น นิพพิทา นั้น เมื่อเกิดขึ้นเป็นเหตุตั้งต้นแล้ว
เมื่อขบวนการถีงหลุดพ้นแล้ว
.
อาการของ นิพพิทา ยังมีอยู่ในจิตอีกหรือไม่
ท่านคิดเช่นไรครับ
ขอบคุณครับ
เมื่อเบื่อหน่าย ก็คลายกำหนัด เมื่อคลายกำหนัด ก็หลุดพ้น ถามว่า เมื่อหลุดพ้น เบื่อหน่าย ยังมีอยู่ในจิตอีกไหม ท่านคิดว่า ?
.
เมื่อมาวิเคราะห์ เหตุ และ ปัจจัย ในทำนองทีว่า
เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ จึงมี
จะได้ว่า
.
เบื่อหน่าย - นิพพิทา คือ เหคุ ทีเกิดขึ้น
ผลก็คือ การคลายกำหนัด ซี่งก็คือ การสิ้นตัณหา
.
คลายกำหนัด เป็น เหตุ
ผลก็คือ การหลุดพ้น
.
ท่านคิดว่า เบื่อหน่าย ทีเป็น นิพพิทา นั้น เมื่อเกิดขึ้นเป็นเหตุตั้งต้นแล้ว
เมื่อขบวนการถีงหลุดพ้นแล้ว
.
อาการของ นิพพิทา ยังมีอยู่ในจิตอีกหรือไม่
ท่านคิดเช่นไรครับ
ขอบคุณครับ