1.
.
© 663highland/Wikimedia
.
ทึ่อุทยานแห่งชาติ
Shikotsu-Toya เกาะ
Hokkaidō
ไม่ไกลจากกรวยภูเขาไฟสลับชั้น
Usu ที่อาจจะปะทุอยู่
มีภูเขาไฟชื่อ
Shōwa-shinzan สูง 400 เมตร
Shōwa-shinzan เป็นภูเขาไฟ
ที่อายุน้อยที่สุดของประเทศญี่ปุ่น
มันปรากฏตัวขึ้นครั้งแรก
เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 1943
แทรกตัวขึ้นมาจากทุ่งข้าวสาลีของชาวนา
พร้อมกับแรงสั่นสะเทือนที่รุนแรง
กับพ่นลาวาที่ร้อนแรง
ในขณะที่หินหนืดหลอมละลาย
พุ่งทะลุผ่านขึ้นด้านบน
แล้วไหลท่วมท้นไปตามทุ่งข้าวสาลี
ในอีก 2 ปีต่อมารูปโดมลาวา
ยังคงเพิ่มสูงขึ้นไปจนสูงถึง 398 เมตร
ภูเขาไฟ Shōwa-shinzan
ปะทุขึ้นในขณะที่ญี่ปุ่นกำลังสู้รบกับ
ฝ่ายสัมพันธมิตรในข่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
การปรากฏตัวขึ้นมาของภูเขาไฟ
อยู่ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม
เพราะประเทศอยู่ในภาวะสงคราม
และความทุกข์ยากลำบาก
ภูเขาไฟที่ปะทุขึ้นมาแล้ว
ชาวบ้านส่วนใหญ่มักเชื่อว่า
เป็นลางร้ายเป็นลางไม่ดี
เจ้าหน้าที่ทางการญี่ปุ่นก็พยายาม
จะปกปิดข่าวเรื่องนี้ไว้
และขอร้องให้ชาวบ้านช่วยเก็บ
เรื่องภูเขาไฟนี้เป็นความลับด้วย
แต่
Masao Mimatsu พนักงานไปรษณีย์
Sobetsu-cho ที่อยู่ใกล้ ๆ กับภูเขาไฟ
ได้เริ่มสังเกต/บันทึกความคืบหน้าของภูเขาไฟ
แต่เพราะอยู่ในภาวะสงครามของประเทศญี่ปุ่น
ทำให้อุปกรณ์ในการสอบวัด
ขั้นพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ที่ใช้ในการตรวจสอบ
และวัดระดับความสูงหายากมาก
ทำให้ Masao Mimatsu
ต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบ
ด้วยการบันทึกและร่างภาพภูเขาไฟ
ที่ค่อย ๆ เติบโตขึ้นเป็นระยะ
ภาพร่างภูเขาไฟของ Masao Mimatsu
จึงกลายเป็นหลักฐานข้อมูล Showa-Shinzan
สำหรับนักธรณีวิทยา
ที่ใช้ศึกษาการก่อตัวของภูเขาไฟลูกนี้
Masao Mimatsu ใช้วิธีลาก
สายเบ็ดตกปลาหลายเส้น
ในแนวนอนวางซ้อนกันสองแนว
บริเวณที่ทำการไปรษณีย์
โดย Masao Mimatsu
ใช้สังเกตเห็นการเติบโตของภูเขาไฟลูกนี้
ผ่านสายเบ็ดตกปลาเหล่านี้
สายเบ็ดตกปลาทำหน้าที่เป็นเส้นนำ
และดึงรายละเอียดของ
ภูเขาไฟ Showa-Shinzan
ที่บริเวณโดมค่อย ๆ เติบโตขึ้น
ในแต่ละช่วงเวลา/ระยะเวลา
ตามที่ Masao Mimatsu ได้จดบันทึกไว้
ในตอนที่ Masao Mimatsu
ได้นำเสนอข้อมูลและภาพวาด
ของท่านในที่การประชุมภูเขาไฟโลก
World Volcano Conference
ที่ Oslo ในปี 1948
ผลงานของท่านได้รับการยกย่อง
จากผู้เชี่ยวชาญด้านภูเขาไฟ
เอกสารของท่านได้รับการเรียกว่า
Mimatsu Diagram
.
2.
.
3.
.
.
Masao Mimatsu ยังได้ซื้อ
ที่ดินที่เป็นภูเขาไฟทั้งหมด
โดยใช้เงินออมของท่านเอง
ทั้งนี้เพื่อจะได้ศึกษาภูเขาไฟ
อย่างละเอียดมากยิ่งขึ้น
บางคนบอกว่า
ท่านซื้อที่ดินที่มีภูเขาไฟที่กำลังเติบโต
บางคนบอกว่า
ท่านซื้อที่ดินที่มีภูเขาไฟหลังหยุดปะทุแล้ว
ถึงอย่างไรก็ตาม Masao Mimatsu
ก็กลายเป็นเจ้าของภูเขาไฟ
และจนถึงทุกวันนี้ภูเขาไฟลูกนี้
ยังเป็นทรัพย์สินส่วนตัวครอบครัวท่าน
แม้ว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะประกาศว่า
ภูเขาไฟลูกนี้เป็นอนุสาวรีย์ธรรมชาติของญี่ปุ่น
และเป็นสิ่งที่หายากที่สุดในโลก
ในปึ 1997
Masao Mimatsu ได้รับรางวัล
First Hokkaido Cultural Award
และท่านยังทันเห็นการปะทุของ
ภูเขาไฟ Usu เป็นครั้งที่ 3 ในชีวิตของท่าน
ท่านมตะในวันที่ 8 ธันวาคม 1977
ทำให้ท่านไม่ทันเห็นการดับของภูเขาไฟ Usu
ท่านได้รับเกียรติสูงสุด
ด้วยการสร้างรูปปั้นทองสัมฤทธิ์
รูปท่านขณะที่มองผ่านอุปกรณ์สำรวจ
ความสูงภูเขาไฟจากผลงานการประดิษฐ์ของท่าน
ที่หออนุสรณ์สถาน Mimatsu Masao
ที่อยู่ใกล้กับภูเขาไฟ Shōwa-shinzan
.
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/2Pbwiq7
http://bit.ly/2ykSUxs
.
.
4.
.
5.
.
6.
.
7.
.
8.
.
9.
.
10.
.
11.
.
.
Mount Usu 12 - 15
12.
.
13.
.
14.
.
15.
.
16.
.
.
เรื่องเดิม
ภูเขาไฟในไทย
ในประเทศไทยมีภูเขาไฟอยู่ในทุกภูมิภาค
ลักษณะของภูเขาไฟจะเป็นภูเขาไฟแบบโล่ (Shield Volcano)
ซึ่งคุณสมบัติของลาวาจะไหลได้ง่าย
ดังนั้นหากมีการระเบิดขึ้นก็จะไม่รุนแรง
ภูเขาไฟในทุกภูมิภาคดับแล้ว
ภาคเหนือ พบในเขตจังหวัด
ลำปาง เชียงราย แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์
ภาคกลาง พบในเขตจังหวัดสุโขทัย
กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ สระบุรี และลพบุรี
ภาคตะวันออก พบในเขตจังหวัด
ปราจีนบุรี จันทบุรี นครนายก และตราด
ภาคตะวันตก พบในเขตจังหวัด
กาญจนบุรีและจังหวัดตาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบในเขตจังหวัด
นครราชสีมา ศรีษะเกษ อุบลราชธานี
บุรีรัมย์ เลย และสุรินทร์
ภูเขาไฟที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
อยู่ในเขตจังหวัดเลย
โดยมีอายุราว 395-435 ล้านปีมาแล้ว
ซึ่งมีอายุมากกว่า ปล่องภูเขาไฟ
ที่พบในจังหวัดสุโขทัยและบุรีรัมย์
ที่มีอายุเพียง 20 -30 ล้านปีเท่านั้น
จากการตรวจสอบแผนที่ประเทศไทยพบว่า
ภูเขาไฟระเบิดหลายจุดในอดีต
โดยนักวิทยาศาสตร์จึงได้มีการเก็บหิน
และหลักฐานบางอย่างตรวจสอบ
ซึ่งจากการตรวจสอบหลักฐานที่เก็บมาพบว่า
เคยมีภูเขาไฟระเบิดขึ้น
เมื่อประมาณ 70 ล้านปีที่ผ่านมา
บริเวณที่เกิดภูเขาไฟในประเทศไทยมีดังนี้
1. ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง สถานที่เขาพนมรุ้ง
ต.ตาเป๊ก อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์
ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นปราสาท
หินทรายสีชมพูสวยงามมาก
สร้างขึ้นบนยอดภูเขาลูกเตี้ย ๆ
ที่มีลักษณะเป็นปากปล่องภูเขาไฟ
นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า ปราสาทหินพนมรุ้ง
เป็นเทวสถานสำหรับเมืองใหญ่
ในที่ราบใกล้เคียงกัน ชื่อเมือง วนัมรุงปุระ
ในสมัยขอมเรืองอำนาจ
2. ภูเขาไฟหินหลุบ และภูเขาไฟคอก จ.บุรีรัมย์
ภูเขาไฟหลุบ อยู่ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
ภูเขาไฟเขาคอก ตั้งอยู่ในอำเภอประโคนชัย
ภูเขาไฟทั้งสองแห่งนี้ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักมากนัก
แต่เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านธรณีวิทยา
ในเรื่องเกี่ยวกับภูเขาไฟของไทยได้เป็นอย่างดี
3. ภูเขาไฟอังคาร สถานที่ภูพระอังคาร
ต.เจริญสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์
อยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลจากภูเขาไฟพนมรุ้ง
ที่ยอดเขาอังคารแห่งนี้
เป็นที่ตั้งของ วัดเขาพระอังคาร
ที่มีโบสถ์ที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรม
แบบประยุกต์หลายสมัยที่สวยงามแปลกตา
และภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง
และเรื่องราวพุทธชาดกภาษาอังกฤษให้ได้ชม
4. ภูเขาไฟกระโดง สถานที่เขากระโดง
ต.เสม็ด อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
เป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว
มีปากปล่องทะลุเห็นได้ชัดเจน
รอบบริเวณแวดล้อมด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์
เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่าขนาดเล็ก
โดยเฉพาะนกนานาชนิด
บนเขากระโดงยังมีโบราณสถานสมัยขอม
รอยพระพุทธบาทจำลอง
และพระพุทธรูปขนาดใหญ่
เป็นที่เคารพสักการะของคนในท้องถิ่น
5. ภูเขาไฟไบรบัด จ.บุรีรัมย์
ซากภูเขาไฟในจังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่
มีสัณฐานของช่องปล่องประทุระเบิดชัดเจน
เนินภูเขาไฟเกิดจากการทับถมของเศษหินภูเขาไฟ
(Pyroclastic Materials)
ซึ่งเกิดจากแรงดันของก๊าซ (Gas) ต่าง ๆ
ที่แทรกอยู่ในหินหลอมละลาย เช่น
ไอน้ำ (70.75%) คาร์บอนไดออกไซด์ (14.07%)
ไฮโดรเจน (0.33%) ไนโตรเจน (5.45%)
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (6.40%) ซัลเฟอร์ไฮออกไซด์ (1.93%) เป็นต้น
เศษหินภูเขาไฟเหล่านี้เป็นมวลหินหลอมละลาย
ที่ถูกดันประทุขึ้นไปและเย็นแข็งตัวในอากาศ
มีขนาดต่าง ๆ กัน มีชื่อเฉพาะเรียกแตกต่างกัน
6. ภูเขาไฟดอยผาดอกจำปาแดด
และภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู จ.ลำปาง
ปล่องภูเขาไฟลำปางยังมีอีกบริเวณหนึ่ง
อยู่ที่บริเวณอำเภอเกาะคา
โดยจะเห็นชั้นหินลาวา (หินบะซอลต์)
ซ้อนทับกันเป็นชั้น ๆ
ปากปล่องภูเขาไฟ มีบริเวณกว้าง
ลักษณะของพืชหรือต้นไม้คลุมดิน
มีลักษณะเหมือน ๆ กับภูมิประเทศทั่ว ๆ ไป
จึงไม่เป็นที่ทราบว่าบริเวณนั้น
เป็นส่วนหนึ่งของปล่องภูเขาไฟมาก่อน
ปล่องภูเขาไฟสบปราบ
มีลักษณะเป็นเนินยาวขนานไปกับ
แม่น้ำวังซึ่งอยู่ทางด้านตะวันตก
ตอนเหนือเป็นเนินสูงรูปร่างคล้ายกรวย
ฐานกว้างมีแบบรูปทางน้ำเป็นรัศมีและวงแหวน
ตอนใต้เป็นเนินยาวค่อนข้างราบ
บนยอดเนินรูปกรวยมีลักษณะเป็นแอ่งรูปวงกลม
มีขอบสูงเปิดออกทางทิศตะวันตก
มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 700 เมตร
ลักษณะของเนินทั้งทางตอนเหนือ
และตอนใต้เป็นธรณีสันฐาน
ที่เกิดจากภูเขาไฟและลาวาหลาก
7. ภูป่าเปาะ บ้านผาหวาย ตำบลปวนพุ
อำเภอหนองหิน จังหวัดเลย
ฟูจิเมืองเลย ที่เที่ยวไทย
ฝาแฝดภูเขาไฟฟูจิ วิว 360 องศา
ภูเขาไฟฟูจิ ฟุจิซัง ฟุจิยะมะ
แลนด์มาร์คของจังหวัดเลย
ภูก้นถ้วย ภูหอ ภูนางนอน
ยอดภูป่าเปาะ ที่เที่ยววิว 360 องศา
สวนภูผา ผาหินงาม เที่ยวเลย ที่เที่ยว 365 วัน
เที่ยวธรรมชาติ เที่ยวเชิงอนุรักษ์ เที่ยวภู
สีแดง ๆ ในแผ่นที่ธรณีที่เห็นนั้น
เกือบจะทั้งหมดคือ หินภูเขาไฟ
ที่เกิดขึ้นตอนเปลี่ยนยุคจากเพอร์เมี่ยน
ไปเป็นไตรแอสสิก
หรือเรียกว่า เพอร์โมไตรแอสสิก
เป็นยุคก่อนที่ไดโนเสาร์จะลืมตาดูโลก
ลองนึกดูสิว่า ตอนนั้นสภาพเป็นยังไง
มันเหมือนโลกกำลังถล่มเลยใช่มั๊ย
เหมือนภูเขาไฟระเบิดเต็มไปหมด
ถ้าให้นับว่าตรงไหนมีภูเขาไฟบ้าง ก็มีเยอะ
ที่เลย Vocanic Neck (ปล่องภูเขาไฟเก่า)
เต็มเลย รวม ๆ ก็พวกสีแดง ๆ ทั้งหลาย
นั่นแหละคือ หินที่เกิดจะภูเขาไฟ
©
สมาชิกหมายเลข 2931621
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/P7pCvW
https://goo.gl/hhVb8p
ภูเขาไฟญี่ปุ่นที่มีเจ้าของและปิดเป็นความลับในช่วงแรก
.
© 663highland/Wikimedia
.
ทึ่อุทยานแห่งชาติ Shikotsu-Toya เกาะ Hokkaidō
ไม่ไกลจากกรวยภูเขาไฟสลับชั้น Usu ที่อาจจะปะทุอยู่
มีภูเขาไฟชื่อ Shōwa-shinzan สูง 400 เมตร
Shōwa-shinzan เป็นภูเขาไฟ
ที่อายุน้อยที่สุดของประเทศญี่ปุ่น
มันปรากฏตัวขึ้นครั้งแรก
เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 1943
แทรกตัวขึ้นมาจากทุ่งข้าวสาลีของชาวนา
พร้อมกับแรงสั่นสะเทือนที่รุนแรง
กับพ่นลาวาที่ร้อนแรง
ในขณะที่หินหนืดหลอมละลาย
พุ่งทะลุผ่านขึ้นด้านบน
แล้วไหลท่วมท้นไปตามทุ่งข้าวสาลี
ในอีก 2 ปีต่อมารูปโดมลาวา
ยังคงเพิ่มสูงขึ้นไปจนสูงถึง 398 เมตร
ภูเขาไฟ Shōwa-shinzan
ปะทุขึ้นในขณะที่ญี่ปุ่นกำลังสู้รบกับ
ฝ่ายสัมพันธมิตรในข่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
การปรากฏตัวขึ้นมาของภูเขาไฟ
อยู่ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม
เพราะประเทศอยู่ในภาวะสงคราม
และความทุกข์ยากลำบาก
ภูเขาไฟที่ปะทุขึ้นมาแล้ว
ชาวบ้านส่วนใหญ่มักเชื่อว่า
เป็นลางร้ายเป็นลางไม่ดี
เจ้าหน้าที่ทางการญี่ปุ่นก็พยายาม
จะปกปิดข่าวเรื่องนี้ไว้
และขอร้องให้ชาวบ้านช่วยเก็บ
เรื่องภูเขาไฟนี้เป็นความลับด้วย
แต่ Masao Mimatsu พนักงานไปรษณีย์
Sobetsu-cho ที่อยู่ใกล้ ๆ กับภูเขาไฟ
ได้เริ่มสังเกต/บันทึกความคืบหน้าของภูเขาไฟ
แต่เพราะอยู่ในภาวะสงครามของประเทศญี่ปุ่น
ทำให้อุปกรณ์ในการสอบวัด
ขั้นพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ที่ใช้ในการตรวจสอบ
และวัดระดับความสูงหายากมาก
ทำให้ Masao Mimatsu
ต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบ
ด้วยการบันทึกและร่างภาพภูเขาไฟ
ที่ค่อย ๆ เติบโตขึ้นเป็นระยะ
ภาพร่างภูเขาไฟของ Masao Mimatsu
จึงกลายเป็นหลักฐานข้อมูล Showa-Shinzan
สำหรับนักธรณีวิทยา
ที่ใช้ศึกษาการก่อตัวของภูเขาไฟลูกนี้
Masao Mimatsu ใช้วิธีลาก
สายเบ็ดตกปลาหลายเส้น
ในแนวนอนวางซ้อนกันสองแนว
บริเวณที่ทำการไปรษณีย์
โดย Masao Mimatsu
ใช้สังเกตเห็นการเติบโตของภูเขาไฟลูกนี้
ผ่านสายเบ็ดตกปลาเหล่านี้
สายเบ็ดตกปลาทำหน้าที่เป็นเส้นนำ
และดึงรายละเอียดของ
ภูเขาไฟ Showa-Shinzan
ที่บริเวณโดมค่อย ๆ เติบโตขึ้น
ในแต่ละช่วงเวลา/ระยะเวลา
ตามที่ Masao Mimatsu ได้จดบันทึกไว้
ในตอนที่ Masao Mimatsu
ได้นำเสนอข้อมูลและภาพวาด
ของท่านในที่การประชุมภูเขาไฟโลก
World Volcano Conference
ที่ Oslo ในปี 1948
ผลงานของท่านได้รับการยกย่อง
จากผู้เชี่ยวชาญด้านภูเขาไฟ
เอกสารของท่านได้รับการเรียกว่า
Mimatsu Diagram
.
.
3.
.
.
Masao Mimatsu ยังได้ซื้อ
ที่ดินที่เป็นภูเขาไฟทั้งหมด
โดยใช้เงินออมของท่านเอง
ทั้งนี้เพื่อจะได้ศึกษาภูเขาไฟ
อย่างละเอียดมากยิ่งขึ้น
บางคนบอกว่า
ท่านซื้อที่ดินที่มีภูเขาไฟที่กำลังเติบโต
บางคนบอกว่า
ท่านซื้อที่ดินที่มีภูเขาไฟหลังหยุดปะทุแล้ว
ถึงอย่างไรก็ตาม Masao Mimatsu
ก็กลายเป็นเจ้าของภูเขาไฟ
และจนถึงทุกวันนี้ภูเขาไฟลูกนี้
ยังเป็นทรัพย์สินส่วนตัวครอบครัวท่าน
แม้ว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะประกาศว่า
ภูเขาไฟลูกนี้เป็นอนุสาวรีย์ธรรมชาติของญี่ปุ่น
และเป็นสิ่งที่หายากที่สุดในโลก
ในปึ 1997
Masao Mimatsu ได้รับรางวัล
First Hokkaido Cultural Award
และท่านยังทันเห็นการปะทุของ
ภูเขาไฟ Usu เป็นครั้งที่ 3 ในชีวิตของท่าน
ท่านมตะในวันที่ 8 ธันวาคม 1977
ทำให้ท่านไม่ทันเห็นการดับของภูเขาไฟ Usu
ท่านได้รับเกียรติสูงสุด
ด้วยการสร้างรูปปั้นทองสัมฤทธิ์
รูปท่านขณะที่มองผ่านอุปกรณ์สำรวจ
ความสูงภูเขาไฟจากผลงานการประดิษฐ์ของท่าน
ที่หออนุสรณ์สถาน Mimatsu Masao
ที่อยู่ใกล้กับภูเขาไฟ Shōwa-shinzan
.
เรียบเรียง/ที่มา
http://bit.ly/2Pbwiq7
http://bit.ly/2ykSUxs
.
4.
.
5.
.
6.
.
7.
.
8.
.
9.
.
10.
.
11.
.
.
Mount Usu 12 - 15
12.
.
13.
.
14.
.
15.
.
16.
.
.
เรื่องเดิม
ภูเขาไฟในไทย
ในประเทศไทยมีภูเขาไฟอยู่ในทุกภูมิภาค
ลักษณะของภูเขาไฟจะเป็นภูเขาไฟแบบโล่ (Shield Volcano)
ซึ่งคุณสมบัติของลาวาจะไหลได้ง่าย
ดังนั้นหากมีการระเบิดขึ้นก็จะไม่รุนแรง
ภูเขาไฟในทุกภูมิภาคดับแล้ว
ภาคเหนือ พบในเขตจังหวัด
ลำปาง เชียงราย แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์
ภาคกลาง พบในเขตจังหวัดสุโขทัย
กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ สระบุรี และลพบุรี
ภาคตะวันออก พบในเขตจังหวัด
ปราจีนบุรี จันทบุรี นครนายก และตราด
ภาคตะวันตก พบในเขตจังหวัด
กาญจนบุรีและจังหวัดตาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบในเขตจังหวัด
นครราชสีมา ศรีษะเกษ อุบลราชธานี
บุรีรัมย์ เลย และสุรินทร์
ภูเขาไฟที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
อยู่ในเขตจังหวัดเลย
โดยมีอายุราว 395-435 ล้านปีมาแล้ว
ซึ่งมีอายุมากกว่า ปล่องภูเขาไฟ
ที่พบในจังหวัดสุโขทัยและบุรีรัมย์
ที่มีอายุเพียง 20 -30 ล้านปีเท่านั้น
จากการตรวจสอบแผนที่ประเทศไทยพบว่า
ภูเขาไฟระเบิดหลายจุดในอดีต
โดยนักวิทยาศาสตร์จึงได้มีการเก็บหิน
และหลักฐานบางอย่างตรวจสอบ
ซึ่งจากการตรวจสอบหลักฐานที่เก็บมาพบว่า
เคยมีภูเขาไฟระเบิดขึ้น
เมื่อประมาณ 70 ล้านปีที่ผ่านมา
บริเวณที่เกิดภูเขาไฟในประเทศไทยมีดังนี้
1. ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง สถานที่เขาพนมรุ้ง
ต.ตาเป๊ก อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์
ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นปราสาท
หินทรายสีชมพูสวยงามมาก
สร้างขึ้นบนยอดภูเขาลูกเตี้ย ๆ
ที่มีลักษณะเป็นปากปล่องภูเขาไฟ
นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า ปราสาทหินพนมรุ้ง
เป็นเทวสถานสำหรับเมืองใหญ่
ในที่ราบใกล้เคียงกัน ชื่อเมือง วนัมรุงปุระ
ในสมัยขอมเรืองอำนาจ
2. ภูเขาไฟหินหลุบ และภูเขาไฟคอก จ.บุรีรัมย์
ภูเขาไฟหลุบ อยู่ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
ภูเขาไฟเขาคอก ตั้งอยู่ในอำเภอประโคนชัย
ภูเขาไฟทั้งสองแห่งนี้ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักมากนัก
แต่เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านธรณีวิทยา
ในเรื่องเกี่ยวกับภูเขาไฟของไทยได้เป็นอย่างดี
3. ภูเขาไฟอังคาร สถานที่ภูพระอังคาร
ต.เจริญสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์
อยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลจากภูเขาไฟพนมรุ้ง
ที่ยอดเขาอังคารแห่งนี้
เป็นที่ตั้งของ วัดเขาพระอังคาร
ที่มีโบสถ์ที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรม
แบบประยุกต์หลายสมัยที่สวยงามแปลกตา
และภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง
และเรื่องราวพุทธชาดกภาษาอังกฤษให้ได้ชม
4. ภูเขาไฟกระโดง สถานที่เขากระโดง
ต.เสม็ด อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
เป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว
มีปากปล่องทะลุเห็นได้ชัดเจน
รอบบริเวณแวดล้อมด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์
เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่าขนาดเล็ก
โดยเฉพาะนกนานาชนิด
บนเขากระโดงยังมีโบราณสถานสมัยขอม
รอยพระพุทธบาทจำลอง
และพระพุทธรูปขนาดใหญ่
เป็นที่เคารพสักการะของคนในท้องถิ่น
5. ภูเขาไฟไบรบัด จ.บุรีรัมย์
ซากภูเขาไฟในจังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่
มีสัณฐานของช่องปล่องประทุระเบิดชัดเจน
เนินภูเขาไฟเกิดจากการทับถมของเศษหินภูเขาไฟ
(Pyroclastic Materials)
ซึ่งเกิดจากแรงดันของก๊าซ (Gas) ต่าง ๆ
ที่แทรกอยู่ในหินหลอมละลาย เช่น
ไอน้ำ (70.75%) คาร์บอนไดออกไซด์ (14.07%)
ไฮโดรเจน (0.33%) ไนโตรเจน (5.45%)
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (6.40%) ซัลเฟอร์ไฮออกไซด์ (1.93%) เป็นต้น
เศษหินภูเขาไฟเหล่านี้เป็นมวลหินหลอมละลาย
ที่ถูกดันประทุขึ้นไปและเย็นแข็งตัวในอากาศ
มีขนาดต่าง ๆ กัน มีชื่อเฉพาะเรียกแตกต่างกัน
6. ภูเขาไฟดอยผาดอกจำปาแดด
และภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู จ.ลำปาง
ปล่องภูเขาไฟลำปางยังมีอีกบริเวณหนึ่ง
อยู่ที่บริเวณอำเภอเกาะคา
โดยจะเห็นชั้นหินลาวา (หินบะซอลต์)
ซ้อนทับกันเป็นชั้น ๆ
ปากปล่องภูเขาไฟ มีบริเวณกว้าง
ลักษณะของพืชหรือต้นไม้คลุมดิน
มีลักษณะเหมือน ๆ กับภูมิประเทศทั่ว ๆ ไป
จึงไม่เป็นที่ทราบว่าบริเวณนั้น
เป็นส่วนหนึ่งของปล่องภูเขาไฟมาก่อน
ปล่องภูเขาไฟสบปราบ
มีลักษณะเป็นเนินยาวขนานไปกับ
แม่น้ำวังซึ่งอยู่ทางด้านตะวันตก
ตอนเหนือเป็นเนินสูงรูปร่างคล้ายกรวย
ฐานกว้างมีแบบรูปทางน้ำเป็นรัศมีและวงแหวน
ตอนใต้เป็นเนินยาวค่อนข้างราบ
บนยอดเนินรูปกรวยมีลักษณะเป็นแอ่งรูปวงกลม
มีขอบสูงเปิดออกทางทิศตะวันตก
มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 700 เมตร
ลักษณะของเนินทั้งทางตอนเหนือ
และตอนใต้เป็นธรณีสันฐาน
ที่เกิดจากภูเขาไฟและลาวาหลาก
7. ภูป่าเปาะ บ้านผาหวาย ตำบลปวนพุ
อำเภอหนองหิน จังหวัดเลย
ฟูจิเมืองเลย ที่เที่ยวไทย
ฝาแฝดภูเขาไฟฟูจิ วิว 360 องศา
ภูเขาไฟฟูจิ ฟุจิซัง ฟุจิยะมะ
แลนด์มาร์คของจังหวัดเลย
ภูก้นถ้วย ภูหอ ภูนางนอน
ยอดภูป่าเปาะ ที่เที่ยววิว 360 องศา
สวนภูผา ผาหินงาม เที่ยวเลย ที่เที่ยว 365 วัน
เที่ยวธรรมชาติ เที่ยวเชิงอนุรักษ์ เที่ยวภู
.
© https://goo.gl/eE15zK
.
.
สีแดง ๆ ในแผ่นที่ธรณีที่เห็นนั้น
เกือบจะทั้งหมดคือ หินภูเขาไฟ
ที่เกิดขึ้นตอนเปลี่ยนยุคจากเพอร์เมี่ยน
ไปเป็นไตรแอสสิก
หรือเรียกว่า เพอร์โมไตรแอสสิก
เป็นยุคก่อนที่ไดโนเสาร์จะลืมตาดูโลก
ลองนึกดูสิว่า ตอนนั้นสภาพเป็นยังไง
มันเหมือนโลกกำลังถล่มเลยใช่มั๊ย
เหมือนภูเขาไฟระเบิดเต็มไปหมด
ถ้าให้นับว่าตรงไหนมีภูเขาไฟบ้าง ก็มีเยอะ
ที่เลย Vocanic Neck (ปล่องภูเขาไฟเก่า)
เต็มเลย รวม ๆ ก็พวกสีแดง ๆ ทั้งหลาย
นั่นแหละคือ หินที่เกิดจะภูเขาไฟ
© สมาชิกหมายเลข 2931621
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/P7pCvW
https://goo.gl/hhVb8p