สวัสดีค่าเพื่อนๆ ตอนนี้เรากำลังทำวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายอุ้มบุญค่ะ
ประเด็นที่เราทำคือสามารถให้สามีภริยาที่อยู่กันฉันท์สามีภรรยาสามารถอุ้มบุญได้เหมือนกับกฎหมายต่างประเทศค่ะ เพราะกฎหมายอุ้มบุญในไทยนั้นอนุญาติเฉพาะคู่สามีภริยาที่จดทะบียนสมรสกันเท่านั้นสามารถอุ้มบุญได้
>> ประเทศไทยนั้นยังไม่มีมาตรการใดๆรองรับสิทธิของชายหญิงที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยาค่ะ หากวิเคราะห์จากบทบัญญัติในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ พ.ศ. 2558 ในมาตราที่เกี่ยวข้องนั้นบัญญัติไว้ให้สิทธิเฉพาะสามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้นที่จะมีสิทธิใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ซึ่งกฎหมายนั้นมีเจตนารมณ์ป้องกันการค้ามนุษย์โดยการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีก็ตามแต่ก็ทำให้เกิดปัญหาในการให้บริการทำให้แพทย์นั้นไม่อาจจะให้บริการคู่ชายหญิงที่อยู่กินกนฉันสามีสามีภรรยา เพราะกฎหมายนั้นบัญญัติไว้เช่นนั้น ค่ะ
>> ซึ่งกฎหมายที่เรานำมาเปรียบเทียบคือประเทศฝรั่งเศาค่ะ
“ต้องพิสูจน์ได้ว่าอยู่กินกันมาร่วมกนเป็นระยะเวลาทั้งหมด 2 ปี ขึ้นไป และต้องให้ความยินยอมการผสมเทียม ซึ่งประเทศฝรั่งเศสจะเน้นไปที่การพิสูจน์การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันแม้ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ซึ่งถือว่าเป็นมาตรการที่รองรับสิทธิของคู่ชายหญิงที่อยู่กินกนฉันสามีภรรยา ที่มีหน้าที่พิสูจน์ให้ได้ว่า ครองรักกันจริงแม้ไม่ได้จดทะเบียนก็ตาม
>> มาตรการรองรับไม่จดทะเบียนที่หามาไดประมาณนี้ค่ะ
ต้องมีพยานหลักฐานชัดเจนให้พอรับฟังได้ว่าเป็นสามี ภรรยากัน เช่นดูจาก
1. หลักฐานทางทะเบียนราษฎร์ คือมีชื่อปรากฏอยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกัน มีชื่อบุตรที่ปรากฏว่าเกิดจากบิดา มารดานั้นๆ ร่วมกัน
2. ดูหลักฐานรูปถ่าย จาก สถานที่ต่างๆ สถานการต่างๆ ที่พอเข้าใจได้ว่าอยู่กินร่วมกัน เช่น ภาพงานแต่ง การ์แต่งงาน เป็นต้น
3. มีหลักฐานปรากฏทางทะเบียนร่วมกันเช่น ถือครองโฉนดที่ดินร่วมกัน
4.จากพยานบุคคลผู้เกี่ยวข้องใกล้ชิด เช่น การออกงานสังคม โดยบอกแจ้งให้คนอื่นทราบว่าเป็นสามีภรรยา
5. การมีบอกบุตรแล้วใช้ชื่อของสามีภรรยาเป็นพ่อแม่
***************************************ประเด็นอยู่ตรงนี้ค่ะ อาจารย์ถามต่อไปว่า***************************************
1. ทะเบียนราษมีชื่ออยู่ในนั้นแสดงแบบนั้นได้หรอ แล้วกรณีที่ไม่ได้มีชื่ออยู่ในนั้น เช่าบ้านกันอยู่ทำไง?
2. รูปถ่ายเพียงพอหรอที่จะแสดงว่าเขาอยู่กินกัน ?
3. การจดทะเบียนรับเป็นบุตร กฎหมายไทยเปิดช่องให้ไหม ในกรณีที่ไม่สมรสกัน จะจดทะเบียนรับเป็นบุตรกันได้ต่อเมื่ออะไร
เช่น -ถ้ากรณี ชายไม่ได้เป็นแฟนกับหญิงแต่อยากมีสิทธิในตัวเด็ก เลยจดดทะเบียนรับเปนบุตร แต่ไม่ได้มีความสัมพันธ์อะไนกับหญิงเลย ทำไง?
- ถ้าเขาไม่ได้แต่งงานกัน จะเอารูปถ่ายแต่งงานมาปรับใช้กับสังคมไทยไม่ได้ เพราะอยุกินกันไม่ได้สมรส?
- การที่เอกับบีอยุกินกัน แล้วให้ซีอุ้มบุฯต้องเปนอสุจิเอกับไข่บีมั้ย
-ถ้านาย Aกับ นาง Bอยู่กินกัน แต่เอาไข่คนอื่น แต่อสุจินาย A ได้ม้ะ = ถ้าได้เปนปัญหาค้ามนุษย์
- ถ้ามีหลักฐานว่านาย Aอยู่กินกับนาง Bแต่ไปเอาไข่คนอื่นไปจ้างคนอุ้มบุญล่ะ ตรวจสอบได้ไหม ?
4. ก่อนจะเข้าหลักเกณฑืในการพิสูจน์คุณสมบัติของคู่ต้องมีอะไรบ้าง?
5. กรณีไหนที่ต้องขึ้นศาลของต่างประเทศ ที่ต้องให้ศาลมีคำสั่งถ้าพิสูจน์ไม่ได้แล้วต้องขขึ้นศาล?
เช่น -ถ้าอยุกินกันชายต้องการมีบุตรแต่หญิง ไม่ต้องการมีบุตร กรณีแบบนี้ ขึ้นศาลได้มั้ย?
-หรือชายอยากมีบุตรแต่ไข่ของผู้หญิงอ่อนแอต้องขออนุญาตศาลมั้ยถ้าไปเอาไข่คนอื่นมาอุ้มบุญ ?
สรุปคือออ หลักเกณฑ์อะไรที่นำมาพิสูจน์ว่าเขาเป็นสามีภริยาที่อยู่กินกันจริงๆ มีความสัมพันธ์กันจริง ต้องชัดเจน
มีใครมีแหล่งข้อมูลให้เราหาเพิ่มเติมได้บ้างคะหรือช่วยเราตอบคำถามหน่อย
ใครมีเว็บที่จะหาตัวบทของกฎหมายต่างประเทศได้บ้างคะ เราจะหาของประเทศอื่นมาแปลค่ะ จะได้เข้าใจมากขึ้นน
สุดท้ายยยยยยยยยย
ขอบคุณสำหรับคำตอบล่ววงหน้านะคะ ถ้าใครมีอะไรจะแนำนำเราได้เลยนะคะ พร้อมรับฟังค่า
ทำวิจัยเรื่องอุ้มบุญ ช่วยด้วยค่ะพลีสสสสส
ประเด็นที่เราทำคือสามารถให้สามีภริยาที่อยู่กันฉันท์สามีภรรยาสามารถอุ้มบุญได้เหมือนกับกฎหมายต่างประเทศค่ะ เพราะกฎหมายอุ้มบุญในไทยนั้นอนุญาติเฉพาะคู่สามีภริยาที่จดทะบียนสมรสกันเท่านั้นสามารถอุ้มบุญได้
>> ประเทศไทยนั้นยังไม่มีมาตรการใดๆรองรับสิทธิของชายหญิงที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยาค่ะ หากวิเคราะห์จากบทบัญญัติในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ พ.ศ. 2558 ในมาตราที่เกี่ยวข้องนั้นบัญญัติไว้ให้สิทธิเฉพาะสามีและภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้นที่จะมีสิทธิใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ซึ่งกฎหมายนั้นมีเจตนารมณ์ป้องกันการค้ามนุษย์โดยการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีก็ตามแต่ก็ทำให้เกิดปัญหาในการให้บริการทำให้แพทย์นั้นไม่อาจจะให้บริการคู่ชายหญิงที่อยู่กินกนฉันสามีสามีภรรยา เพราะกฎหมายนั้นบัญญัติไว้เช่นนั้น ค่ะ
>> ซึ่งกฎหมายที่เรานำมาเปรียบเทียบคือประเทศฝรั่งเศาค่ะ
“ต้องพิสูจน์ได้ว่าอยู่กินกันมาร่วมกนเป็นระยะเวลาทั้งหมด 2 ปี ขึ้นไป และต้องให้ความยินยอมการผสมเทียม ซึ่งประเทศฝรั่งเศสจะเน้นไปที่การพิสูจน์การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันแม้ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ซึ่งถือว่าเป็นมาตรการที่รองรับสิทธิของคู่ชายหญิงที่อยู่กินกนฉันสามีภรรยา ที่มีหน้าที่พิสูจน์ให้ได้ว่า ครองรักกันจริงแม้ไม่ได้จดทะเบียนก็ตาม
>> มาตรการรองรับไม่จดทะเบียนที่หามาไดประมาณนี้ค่ะ
ต้องมีพยานหลักฐานชัดเจนให้พอรับฟังได้ว่าเป็นสามี ภรรยากัน เช่นดูจาก
1. หลักฐานทางทะเบียนราษฎร์ คือมีชื่อปรากฏอยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกัน มีชื่อบุตรที่ปรากฏว่าเกิดจากบิดา มารดานั้นๆ ร่วมกัน
2. ดูหลักฐานรูปถ่าย จาก สถานที่ต่างๆ สถานการต่างๆ ที่พอเข้าใจได้ว่าอยู่กินร่วมกัน เช่น ภาพงานแต่ง การ์แต่งงาน เป็นต้น
3. มีหลักฐานปรากฏทางทะเบียนร่วมกันเช่น ถือครองโฉนดที่ดินร่วมกัน
4.จากพยานบุคคลผู้เกี่ยวข้องใกล้ชิด เช่น การออกงานสังคม โดยบอกแจ้งให้คนอื่นทราบว่าเป็นสามีภรรยา
5. การมีบอกบุตรแล้วใช้ชื่อของสามีภรรยาเป็นพ่อแม่
***************************************ประเด็นอยู่ตรงนี้ค่ะ อาจารย์ถามต่อไปว่า***************************************
1. ทะเบียนราษมีชื่ออยู่ในนั้นแสดงแบบนั้นได้หรอ แล้วกรณีที่ไม่ได้มีชื่ออยู่ในนั้น เช่าบ้านกันอยู่ทำไง?
2. รูปถ่ายเพียงพอหรอที่จะแสดงว่าเขาอยู่กินกัน ?
3. การจดทะเบียนรับเป็นบุตร กฎหมายไทยเปิดช่องให้ไหม ในกรณีที่ไม่สมรสกัน จะจดทะเบียนรับเป็นบุตรกันได้ต่อเมื่ออะไร
เช่น -ถ้ากรณี ชายไม่ได้เป็นแฟนกับหญิงแต่อยากมีสิทธิในตัวเด็ก เลยจดดทะเบียนรับเปนบุตร แต่ไม่ได้มีความสัมพันธ์อะไนกับหญิงเลย ทำไง?
- ถ้าเขาไม่ได้แต่งงานกัน จะเอารูปถ่ายแต่งงานมาปรับใช้กับสังคมไทยไม่ได้ เพราะอยุกินกันไม่ได้สมรส?
- การที่เอกับบีอยุกินกัน แล้วให้ซีอุ้มบุฯต้องเปนอสุจิเอกับไข่บีมั้ย
-ถ้านาย Aกับ นาง Bอยู่กินกัน แต่เอาไข่คนอื่น แต่อสุจินาย A ได้ม้ะ = ถ้าได้เปนปัญหาค้ามนุษย์
- ถ้ามีหลักฐานว่านาย Aอยู่กินกับนาง Bแต่ไปเอาไข่คนอื่นไปจ้างคนอุ้มบุญล่ะ ตรวจสอบได้ไหม ?
4. ก่อนจะเข้าหลักเกณฑืในการพิสูจน์คุณสมบัติของคู่ต้องมีอะไรบ้าง?
5. กรณีไหนที่ต้องขึ้นศาลของต่างประเทศ ที่ต้องให้ศาลมีคำสั่งถ้าพิสูจน์ไม่ได้แล้วต้องขขึ้นศาล?
เช่น -ถ้าอยุกินกันชายต้องการมีบุตรแต่หญิง ไม่ต้องการมีบุตร กรณีแบบนี้ ขึ้นศาลได้มั้ย?
-หรือชายอยากมีบุตรแต่ไข่ของผู้หญิงอ่อนแอต้องขออนุญาตศาลมั้ยถ้าไปเอาไข่คนอื่นมาอุ้มบุญ ?
สรุปคือออ หลักเกณฑ์อะไรที่นำมาพิสูจน์ว่าเขาเป็นสามีภริยาที่อยู่กินกันจริงๆ มีความสัมพันธ์กันจริง ต้องชัดเจน
มีใครมีแหล่งข้อมูลให้เราหาเพิ่มเติมได้บ้างคะหรือช่วยเราตอบคำถามหน่อย
ใครมีเว็บที่จะหาตัวบทของกฎหมายต่างประเทศได้บ้างคะ เราจะหาของประเทศอื่นมาแปลค่ะ จะได้เข้าใจมากขึ้นน
สุดท้ายยยยยยยยยย
ขอบคุณสำหรับคำตอบล่ววงหน้านะคะ ถ้าใครมีอะไรจะแนำนำเราได้เลยนะคะ พร้อมรับฟังค่า