เดินทางไปบนฟากฟ้าแสนไกล เฝ้ามองหายนะภัยที่แสนจะใหญ่หลวง แค่เพียงเป้าหมายยังอยู่บน
ฟ้า มองไปแสนไกล ไม่มีใครหวนกลับมาพบพาน เดินทางไประหว่างกาลอวกาศด้วยความเชื่อ
ไม่ว่าเบื่อเพียงไรไม่หวาดหวั่น ต่อให้ข้าจะเอี้อมถึงตะวัน ความมืดนั้นจะอยู่ในฟ้าไกลตลอดไป
10 อันดับ สุดยอดดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ เทวทูตแห่งความรู้จากอวกาศ
10. มวลน้อยที่สุด PSR B1257+12 A
อันนี้เป็นภาพของขนาดที่เป็นไปได้ของดราก์ร เมื่อเทียบขนาดเข้ากับดาวโลกของเรา แต่แน่นอนว่าเพราะมันอยู่ไกล ต้องทำใจเรื่องความคลาดเคลื่อนขนาดที่เป็นไปได้ อยู่พอสมควรเลยละครับผม
ดรากร์ หรือที่รู้จักกันในนาม PSR B1257+12 A เป็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
ที่อยู่ไกลร่วม 2300 ปีแสง ซึ่งนั้นก็เป็นระยะทางที่ใกลมากครับ มันเท่ากับว่าแม้แต่แสง
ซึ่งเป็นวัตถุที่เร็วมากที่สุด ในพึ้นที่ของมิติที่สามของเรา ยังต้องใช้เวลา
เดินทางถึง 2300 ปี ซึ่งนั่นทำให้แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย ที่เราจะเดินทางไปถึงเป้าหมายนั้น
ได้ในระยะเวลาอันสั้น แต่สิ่งที่ทำให้ดรากร์โดดเด่นจริงๆ นั่นก็คือ เขาเป็นดาวเคราะห์หิน
แข็งแกร่ง ที่โคจรรอบระบบดาวที่เหมือนกับว่าเป็นสุสานแห่งอวกาศ สถานะจริงๆ ของดรากร์ คือ
ดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด เท่าที่มีการคอนเฟิร์มในแง่ของมวล คือเขามีน้ำหนักเพียงแค่สองเท่าของดวงจันทร์
เท่านั้นเอง ถือว่าเบากว่าดาวพุธของโลกเราหลายเท่าเลยละครับ
9. ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ที่มีน้ำหนักมากที่สุด HR 2562 b
ยุคของเบาเราได้นำเสมอไปแล้ว คราวนี้เราจะมานำเสนอเรียกของหนักกันบ้าง ด้วยน้ำหนักที่ทำให้ระบบดาว
ขยับเขยึ้อน มวลที่ก้าวข้ามขีดจำกัดของดาวแคระน้ำตาล ไปเป็นที่เรียบร้อย ด้วยน้ำหนักมากมายมหาศาล
ถึง 15-45 เท่า ของดาวพฤหัส(นักดาราศาสตร์ส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือกับตัวเลขที่ 30 เท่า มากที่สุด)
ดาวพฤหัสบดีนะหนักกว่าโลกร่วมๆ 318 เท่า ดังนั้นก็แปลว่าเจ้าวัตถุนี้ อาจหนักกว่าโลกร่วม
318x30=9540 เท่า ดาวเคราะห์ด้วยกันที่หนักเท่าโลกเป็นหมื่นดวง โอ้โหเฮะ อาจหนักได้เกือบครึ่ง
ของน้ำหนักดาวแคระแดง ซึ่งถือเป็นดาวฤกษ์ที่แท้จริงกลุ่มแรกๆ ด้วยซ้ำไป
ด้วยมวลที่มหาศาลของเจ้าวัตถุนี้ จึงทำให้ส่งผลได้แม้กระทั่งกับดาวฤกษ์
8.อยู่ใกล้ที่สุด Proxima Centauri b
ที่ระยะทางเพียง 4.2 ปีแสงจากดวงอาทิตย์ มันมีดาวแคระแดง พร็อกซิมา เซนทอรีลองอยู่กลางอวกาศอันเวิ้งว้าง
รอคอยให้มนุษย์อย่างเราๆ ส่งยานสำรวจไปมา และข่าวดีที่สุด ของการที่เราสำรวจเจ้าดาวดวง
นี้ก็คือ มันมีดาวบริวารด้วย ใช่ครับ ฟังไม่ผิดแน่นอน พร็อกซิมา เซนทอรี่ มีดาวบริวารลอยเท้งเต้ง
อยู่ข้างๆ มัน ที่สำคัญคือดาวบริวารดวงนี้ ลอยอยู่ห่างจากพร็อกซิมา เซนทอรี ในระยะทางที่เหมาะสมจะมีสิ่งมีชีวิต โอ้โหเฮะ
อะไรชาวโลกเราจะโชคดีปานนี้ เจ้าพร็อกซิมา เซนเทารี B ดาวบริวารของพร็อกซิมา เซนเทารี
ลอยอยู่ห่างดาวแม่ในระยะทางที่ 0.05 หน่วยดาราศาสตร์ เราจัดการแปลงหน่วยแล้วได้ตัวเลขสวยๆ ที่ 7.5 ล้าน
กิโลเมตร หรือ 4.6 ล้านไมล์ ที่ระยะห่วงขนาดนี้ คาบการโคจรรอบดาว จะอยู่ที่ 11.2 วันของโลก
และมีมวลมากกว่าโลกราว 30% เนื่องจากดาวแม่ของมันเป็นดาวแคระแดง จึงนับว่าเป็นไปได้ที่ระยะห่างขนาดนี้
เจ้าพร็อกซิมา เซนทอรี B จะมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม กับการให้กำเนิดสิ่งมีชีวิต แม้จะต้องเจอกับลมสุริยะที่รุนแรง
ก็ตามที่ มันถูกค้นพบในเดือน สิงหาคม ของปี 2016 ด้วยฝืมือของทีมงานของหอดาราศาสตร์จากยุโรปใต้
ด้วยการใช้วิธีทำการตรวจสอบวงโคจรของดวงดาว ในอนาคตเราอาจส่งดาวเทียมจากโปรเจค เบรคเอาท์ สตาร์ช็อต ไปที่ดาวดวงนี้อีกด้วย
7.อยู่ไกลที่สุด sweep-11/sweep 04
แม้จะมีรายงานของกลุ่มนักดาราศาสตร์เรื่องการโค้งของแสงบ่งบอกว่ามีดาวเคราะห์อยู่ในอันโดรเมดา
กาแล็คซี่ก็ตาม แต่ด้วยระยะห่างที่มาก เราเลยไม่สามารถได้ข้อมูลมากนัก บางที่มันอาจไม่ใช่ดาวเคราะห์ด้วยซ้ำ
แต่เป็นวัตถุมวลดาวเคราะห์แทน ดังนั้นแชมป์เจ้าของสถิติ ดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ไกลที่สุดจากโลก จึงควรจะเป็นของ
SWEEPS-11 เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ SWEEPS J175902.67-291153.5 ในกลุ่มดาวราศีธนูระยะห่างประมาณ 27,710 ปีแสงจากระบบสุริยะ ทำให้มันพร้อมกับ SWEEPS-04 เป็น ดาวเคราะห์นอกระบบที่ห่างไกลมากที่สุดที่รู้จักกัน
ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบในปีคศ 2006 โดยใช้โปรแกรมการสำรวจดวงดาวในอวกาศของราศีธนู (SWEEPS) ที่ใช้วิธีการทรานสิท หรือการโคจรผ่านดาวฤกษ์ดาวพฤหัสร้อนดวงนี้นี้มีมวล 9.7 เท่าของดาวพฤหัสบดีและมีรัศมี 1.13 เท่าของดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์โคจรรอบดาวฤกษ์ใกล้เคียงกับดาวฤกษ์กว่า 1.75 เท่า 51 Pegasi b คือ 51 Pegasi ใช้เวลาเพียง 1.8 วันหรือ 43 ชั่วโมงในการโคจรรอบดาวฤกษ์(หนักเกือบๆ เท่าดาวแคระน้ำตาล)
SWEEPS-04 เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ SWEEPS J175853.92-291120.6 ในกลุ่มดาวราศีธนูระยะห่างประมาณ 27,710 ปีแสงน่นอนในค่านี้มีขนาดประมาณ 12% มันโคจรรอบดาวฤกษ์แม่เฉลี่ย 8,200,000 กิโลเมตร (0.055 AU) โดยใช้เวลา 4.2 วันในการโคจรรอบดาวแม่
6.ร้อนแรงที่สุด kepler-70
ด้วยความร้อนระดับ 7,000 องศาพาเรนไฮต์ ทำให้เจ้านี่เป็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่ร้อนแรงที่สุด
มันโคจรรอบดาวแม่อย่างเคปเลอร์ 70 ในระยะเวลาไม่ถึง 6 ชั่วโมง นับว่าเป็นดาวที่มีรอบการโคจรรอบ
ดาวแม่เร็วที่สุดดวงหนึ่งที่เรารู้จักกันมา เป็นรองเพียงแค่ PSR 1719-14 b ที่มีรอบการโคจรอยู่ที่สองชั่วโมงเท่านั้น
นักดาราศาสตร์เชื่อกันว่ามันและ kepler 70-C เคยเป็นดาวเคราะห์แก้สยักษ์มาก่อน แต่ถูกทำให้โดนดูดกลืนด้วยฝืมือของดาว
แม่ขนาดยักษ์ ในขณะที่ทำการพองตัวเป็นดาวยักษ์แดง จากนั้นเมื่อดาวแม่ยุบตัว มันเองจึงกลายเป็นพิภพหินที่สุดร้อนแรง
คล้ายกับทะเลลาวาเช่นนี้ มีขนาดแล้วเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่าโลก แต่ความหนาแน่นดาวพอๆ กันครับ
ดาวแม่ของมันร้อนกว่าดวงอาทิตย์ร่วม 6 เท่า และคาดว่าจะกลายเป็นดาวแคระขาวในอนาคต
Kepler-70c ผ่าน Kepler-70b ห่างจาก Kepler-70b 240,000 กิโลเมตร (150,000 ไมล์) ซึ่งอาจก่อให้เกิดแรงกระแทกต่อกัน
และปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาอื่นๆ จำนวนมาก จัดเป็นดาวเคราะห์ที่มีรายงานการเดินทางเข้าใกล้กันมากที่สุด
5.หนาวเย็นที่สุด OGLE-2005-BLG-390Lb
บางครั้งได้รับสมญานามจากนาซา ว่า โฮท เป็นหนึ่งในซุปเปอร์เอิร์ทที่มีความหนาวเย็นเป็นที่สุด และ
ถูกค้นพบภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2006 แม้จะมีสภาพที่ไม่ซัพพอรต์การดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต
และอยู่ไกลจากโลกถึง 21500+-3300 ปีแสงก็ตามที่ แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาข้อมูล
ทางดาราศาสตร์ของโฮทเอาใว้ ก็ถือว่าเป็นอะไรที่จะเป็นประโยชน์กับเผ่าพันธ์ของเรา ในอนาคตอย่างแน่นอน
โฮทถูกคาดการ์ณว่าน่าจะมีน้ำหนักมากกว่าโลกของเราห้าเท่า และมีชั้นบรรยากาศที่บางเฉียบเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยระยะห่างจากดาวแม่ที่มาก บวกกับการที่ดาวแม่มีอุณหภูมิที่ต่ำ พลังงานที่โฮทจะได้รับจากดาวแม่
จึงทำให้พึ้นผิวของมันมีความร้อนที่น้อยมาก คือไม่เกิน 50 องศาเคลวินเท่านั้น ถ้าโฮทเป็นดาวเคราะห์หินที่
แข็งตันคล้ายกับโลก พึ้นผิวของมันน่าจะมี แอมโมเนีย มีเทน และไฮโดรเจน หรือถ้ามันเป็นดาวแก้ส
เช่นเดียวกับดาวพฤหัสบดีแล้ว มันน่าจะมีลักษนะคล้ายดาวยูเรนัส มันถูกค้นพบด้วยวิธีไมโครเลนส์
ซึ่งเป็นลูกเล่นเจ๋งๆของนักดาราศาสตร์
4.อยู่ไกลจากดาวแม่มากที่สุด 2MASS J2126-8140
ด้วยระยะห่างจากดาวแม่มากถึง 7,000 หน่วยดาราศาสตร์ ทำให้ตอนแรกมันถูกเข้าใจผิดว่าเป็นดาวโจร
หรือดาวเคราะห์พเนจร ระยะห่างจากดาวแม่ที่สูง ทำให้คนหลายๆคน ไม่เชื่อว่า มันจะทำการ
ไทดัลล็อคกับดาวแม่ได้ ระยะห่างที่มากขนาดนี้ มันหมายถึงมันอาจต้องใช้เวลาร่วมเก้าแสนถึงหนึ่งล้าน
ปี กว่าที่มันจะโคจรรอบดาวแม่ได้ครบ 1 รอบ ซึ่งตั้งแต่เวลาที่มันถือกำเนิดขึ้น มันโคจรรอบดาวแม่ไปไม่ถึง
50 รอบดีด้วยซ้ำไป และมวลของมันก็อยู่ในระดับเดียวกับดาวแคระน้ำตาล คือที่ราวๆ 13 เท่า
เป็นไปได้ว่ามันมีแหล่งพลังงานความร้อนที่แกน ทำให้มันสามารถร้อนแรงได้ถึง 1800 องศาฟาเรนไฮต์
ซึ่งข้อมูลตรงนี้ก็น่าจะเกี่ยวข้องกับมวลของมันครับ
3.อยู่ใกล้ดาวแม่มากที่สุด SWIFT J1756.9-2508 B,PSR J1719-1438 b
พัลซาร์ทรงพลังที่ปลดปล่อยแสงสว่างออกมามากมากเหนือจินตนาการ จะดาวบริวาร
ที่จะโคจรไปรอบๆมัน แต่เสียดายที่มีข้อมูลน้อยไปหน่อย แต่นั้นก็ไม่ใช่ปัญหาร้ายแรง สำหรับเหล่านักดาราศาสตร์ครับ
เพราะว่าเรามีตัวเปรียบเทียบอย่าง PSR J1719-1438 b ที่โคจรไปรอบๆ พัลซาร์ที่มีจังหวะในระดับ
มิลลิวินาที และเจ้าพัลซาร์จะปล่อยสนามแม่เหล็กรุนแรงออกมารอบตัว พึ้นผิวของ PSR J1719-1438B
นั้นมีลักษนะที่มีความหนาแน่นสูงมาก คาดว่าสะท้อนแสงได้ดีเหมือนเพชร และมีความหนาแน่นมากกว่า
ดาวพฤหัสบดีกว่า 20 เท่า มันถูกค้นพบโดยสังเกติจังหวะการเคลื่อนที่ของพัลซาร์
2.NY Virginis b ,NN SERPENTIS c,NN SERPENTIS D
วงโคจร 7 ปี ทำให้ดาวดวงนี้เป็นดาวที่ต้องอยู่รอบดาวแม่เป็นระยะเวลายาวนานมาก แต่นั้นก็ไม่สำคัญ
เมื่อเทียบกับดาวแม่ที่ร้อนแรงอย่างกับเพลิงนรกที่ 33,000 องศา ส่วน NN SERPENTIST เป็นดาวคู่ที่อาจร้อนได้ถึง 57000
องศา เมื่อทำการรวมพลังงานความร้อนเข้าด้วยกัน ระบบดาวเคราะห์ได้รับการคาดการ์ณถึงการมีอยู่รอบ ๆ NN Serpentis โดยหลายทีม ทีมงานทั้งหมดเหล่านี้อาศัยข้อเท็จจริงที่ว่า Earth ตั้งอยู่ในระนาบเดียวกับระบบดาวคู่ของ NN Serpentis ดังนั้นมนุษย์จึงสามารถมองเห็นดาวแคระแดงขนาดใหญ่ทำให้เกิดดาวแคระขาวทุก 0.13 วัน นักดาราศาสตร์จะสามารถใช้สุริยุปราคาบ่อยครั้งเพื่อดูรูปแบบของความผิดปกติเล็ก ๆ แต่มีนัยสำคัญในวงโคจรของดาวซึ่งอาจเป็นผลมาจากการปรากฏตัวและแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์วงโคจร
เฉิน ใช้ "ช่วงเวลาของการเกิดคราส" เพื่อแนะนำช่วงการโคจรสมมุติระหว่าง 30 ถึง 285 ปีและมีมวลต่ำสุดระหว่าง 0.0043 และ 0.18 สุริยจักรวาล
ปลายปี 2009 ได้มีการคาดการ์ณว่ามีมวลต่ำสุดประมาณ 10.7 มวลดาวพฤหัสบดีและระยะเวลาการโคจร 7.56 ปีสำหรับดาวเคราะห์ดวงนี้อาจอยู่ที่หน่วยดาราศาสตร์ 3.29 เรื่องนี้ได้รับการพิสูจน์โดยการตรวจวัดเป็นครั้งๆอย่างต่อเนื่องจากการตรวจสอบระบบดาวคู่
ปลายปีพ. ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 นักวิจัยจากสหราชอาณาจักร (มหาวิทยาลัย Warwick และ University of Sheffield), เยอรมนี (Georg-August-Universitat ในGöttingen, Eberhard-Karls-Universitat ในTübingen), ชิลี (Universidad de Valparaíso) และ United รัฐ (มหาวิทยาลัยเท็กซัสในออสติน) ชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาของการบังแสงดาวแม่เกิดจากดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์สองดวง ดาวก๊าซยักษ์ขนาดใหญ่มีขนาดประมาณ 6 เท่ามวลของดาวพฤหัสบดีและโคจรรอบดาวฤกษ์สองเท่าทุกๆ 15.5 ปีวงโคจรอื่น ๆ ทุกๆ 7.75 ปีและมีมวลประมาณ 1.6 เท่าของดาวพฤหัสบดี
10 อันดับ ที่สุดของดาวเคราะห์นอกระบบ
ฟ้า มองไปแสนไกล ไม่มีใครหวนกลับมาพบพาน เดินทางไประหว่างกาลอวกาศด้วยความเชื่อ
ไม่ว่าเบื่อเพียงไรไม่หวาดหวั่น ต่อให้ข้าจะเอี้อมถึงตะวัน ความมืดนั้นจะอยู่ในฟ้าไกลตลอดไป
10 อันดับ สุดยอดดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ เทวทูตแห่งความรู้จากอวกาศ
10. มวลน้อยที่สุด PSR B1257+12 A
อันนี้เป็นภาพของขนาดที่เป็นไปได้ของดราก์ร เมื่อเทียบขนาดเข้ากับดาวโลกของเรา แต่แน่นอนว่าเพราะมันอยู่ไกล ต้องทำใจเรื่องความคลาดเคลื่อนขนาดที่เป็นไปได้ อยู่พอสมควรเลยละครับผม
ดรากร์ หรือที่รู้จักกันในนาม PSR B1257+12 A เป็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
ที่อยู่ไกลร่วม 2300 ปีแสง ซึ่งนั้นก็เป็นระยะทางที่ใกลมากครับ มันเท่ากับว่าแม้แต่แสง
ซึ่งเป็นวัตถุที่เร็วมากที่สุด ในพึ้นที่ของมิติที่สามของเรา ยังต้องใช้เวลา
เดินทางถึง 2300 ปี ซึ่งนั่นทำให้แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย ที่เราจะเดินทางไปถึงเป้าหมายนั้น
ได้ในระยะเวลาอันสั้น แต่สิ่งที่ทำให้ดรากร์โดดเด่นจริงๆ นั่นก็คือ เขาเป็นดาวเคราะห์หิน
แข็งแกร่ง ที่โคจรรอบระบบดาวที่เหมือนกับว่าเป็นสุสานแห่งอวกาศ สถานะจริงๆ ของดรากร์ คือ
ดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด เท่าที่มีการคอนเฟิร์มในแง่ของมวล คือเขามีน้ำหนักเพียงแค่สองเท่าของดวงจันทร์
เท่านั้นเอง ถือว่าเบากว่าดาวพุธของโลกเราหลายเท่าเลยละครับ
9. ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ที่มีน้ำหนักมากที่สุด HR 2562 b
ยุคของเบาเราได้นำเสมอไปแล้ว คราวนี้เราจะมานำเสนอเรียกของหนักกันบ้าง ด้วยน้ำหนักที่ทำให้ระบบดาว
ขยับเขยึ้อน มวลที่ก้าวข้ามขีดจำกัดของดาวแคระน้ำตาล ไปเป็นที่เรียบร้อย ด้วยน้ำหนักมากมายมหาศาล
ถึง 15-45 เท่า ของดาวพฤหัส(นักดาราศาสตร์ส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือกับตัวเลขที่ 30 เท่า มากที่สุด)
ดาวพฤหัสบดีนะหนักกว่าโลกร่วมๆ 318 เท่า ดังนั้นก็แปลว่าเจ้าวัตถุนี้ อาจหนักกว่าโลกร่วม
318x30=9540 เท่า ดาวเคราะห์ด้วยกันที่หนักเท่าโลกเป็นหมื่นดวง โอ้โหเฮะ อาจหนักได้เกือบครึ่ง
ของน้ำหนักดาวแคระแดง ซึ่งถือเป็นดาวฤกษ์ที่แท้จริงกลุ่มแรกๆ ด้วยซ้ำไป
ด้วยมวลที่มหาศาลของเจ้าวัตถุนี้ จึงทำให้ส่งผลได้แม้กระทั่งกับดาวฤกษ์
8.อยู่ใกล้ที่สุด Proxima Centauri b
ที่ระยะทางเพียง 4.2 ปีแสงจากดวงอาทิตย์ มันมีดาวแคระแดง พร็อกซิมา เซนทอรีลองอยู่กลางอวกาศอันเวิ้งว้าง
รอคอยให้มนุษย์อย่างเราๆ ส่งยานสำรวจไปมา และข่าวดีที่สุด ของการที่เราสำรวจเจ้าดาวดวง
นี้ก็คือ มันมีดาวบริวารด้วย ใช่ครับ ฟังไม่ผิดแน่นอน พร็อกซิมา เซนทอรี่ มีดาวบริวารลอยเท้งเต้ง
อยู่ข้างๆ มัน ที่สำคัญคือดาวบริวารดวงนี้ ลอยอยู่ห่างจากพร็อกซิมา เซนทอรี ในระยะทางที่เหมาะสมจะมีสิ่งมีชีวิต โอ้โหเฮะ
อะไรชาวโลกเราจะโชคดีปานนี้ เจ้าพร็อกซิมา เซนเทารี B ดาวบริวารของพร็อกซิมา เซนเทารี
ลอยอยู่ห่างดาวแม่ในระยะทางที่ 0.05 หน่วยดาราศาสตร์ เราจัดการแปลงหน่วยแล้วได้ตัวเลขสวยๆ ที่ 7.5 ล้าน
กิโลเมตร หรือ 4.6 ล้านไมล์ ที่ระยะห่วงขนาดนี้ คาบการโคจรรอบดาว จะอยู่ที่ 11.2 วันของโลก
และมีมวลมากกว่าโลกราว 30% เนื่องจากดาวแม่ของมันเป็นดาวแคระแดง จึงนับว่าเป็นไปได้ที่ระยะห่างขนาดนี้
เจ้าพร็อกซิมา เซนทอรี B จะมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม กับการให้กำเนิดสิ่งมีชีวิต แม้จะต้องเจอกับลมสุริยะที่รุนแรง
ก็ตามที่ มันถูกค้นพบในเดือน สิงหาคม ของปี 2016 ด้วยฝืมือของทีมงานของหอดาราศาสตร์จากยุโรปใต้
ด้วยการใช้วิธีทำการตรวจสอบวงโคจรของดวงดาว ในอนาคตเราอาจส่งดาวเทียมจากโปรเจค เบรคเอาท์ สตาร์ช็อต ไปที่ดาวดวงนี้อีกด้วย
7.อยู่ไกลที่สุด sweep-11/sweep 04
แม้จะมีรายงานของกลุ่มนักดาราศาสตร์เรื่องการโค้งของแสงบ่งบอกว่ามีดาวเคราะห์อยู่ในอันโดรเมดา
กาแล็คซี่ก็ตาม แต่ด้วยระยะห่างที่มาก เราเลยไม่สามารถได้ข้อมูลมากนัก บางที่มันอาจไม่ใช่ดาวเคราะห์ด้วยซ้ำ
แต่เป็นวัตถุมวลดาวเคราะห์แทน ดังนั้นแชมป์เจ้าของสถิติ ดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ไกลที่สุดจากโลก จึงควรจะเป็นของ
SWEEPS-11 เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ SWEEPS J175902.67-291153.5 ในกลุ่มดาวราศีธนูระยะห่างประมาณ 27,710 ปีแสงจากระบบสุริยะ ทำให้มันพร้อมกับ SWEEPS-04 เป็น ดาวเคราะห์นอกระบบที่ห่างไกลมากที่สุดที่รู้จักกัน
ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบในปีคศ 2006 โดยใช้โปรแกรมการสำรวจดวงดาวในอวกาศของราศีธนู (SWEEPS) ที่ใช้วิธีการทรานสิท หรือการโคจรผ่านดาวฤกษ์ดาวพฤหัสร้อนดวงนี้นี้มีมวล 9.7 เท่าของดาวพฤหัสบดีและมีรัศมี 1.13 เท่าของดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะห์โคจรรอบดาวฤกษ์ใกล้เคียงกับดาวฤกษ์กว่า 1.75 เท่า 51 Pegasi b คือ 51 Pegasi ใช้เวลาเพียง 1.8 วันหรือ 43 ชั่วโมงในการโคจรรอบดาวฤกษ์(หนักเกือบๆ เท่าดาวแคระน้ำตาล)
SWEEPS-04 เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ SWEEPS J175853.92-291120.6 ในกลุ่มดาวราศีธนูระยะห่างประมาณ 27,710 ปีแสงน่นอนในค่านี้มีขนาดประมาณ 12% มันโคจรรอบดาวฤกษ์แม่เฉลี่ย 8,200,000 กิโลเมตร (0.055 AU) โดยใช้เวลา 4.2 วันในการโคจรรอบดาวแม่
6.ร้อนแรงที่สุด kepler-70
ด้วยความร้อนระดับ 7,000 องศาพาเรนไฮต์ ทำให้เจ้านี่เป็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่ร้อนแรงที่สุด
มันโคจรรอบดาวแม่อย่างเคปเลอร์ 70 ในระยะเวลาไม่ถึง 6 ชั่วโมง นับว่าเป็นดาวที่มีรอบการโคจรรอบ
ดาวแม่เร็วที่สุดดวงหนึ่งที่เรารู้จักกันมา เป็นรองเพียงแค่ PSR 1719-14 b ที่มีรอบการโคจรอยู่ที่สองชั่วโมงเท่านั้น
นักดาราศาสตร์เชื่อกันว่ามันและ kepler 70-C เคยเป็นดาวเคราะห์แก้สยักษ์มาก่อน แต่ถูกทำให้โดนดูดกลืนด้วยฝืมือของดาว
แม่ขนาดยักษ์ ในขณะที่ทำการพองตัวเป็นดาวยักษ์แดง จากนั้นเมื่อดาวแม่ยุบตัว มันเองจึงกลายเป็นพิภพหินที่สุดร้อนแรง
คล้ายกับทะเลลาวาเช่นนี้ มีขนาดแล้วเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่าโลก แต่ความหนาแน่นดาวพอๆ กันครับ
ดาวแม่ของมันร้อนกว่าดวงอาทิตย์ร่วม 6 เท่า และคาดว่าจะกลายเป็นดาวแคระขาวในอนาคต
Kepler-70c ผ่าน Kepler-70b ห่างจาก Kepler-70b 240,000 กิโลเมตร (150,000 ไมล์) ซึ่งอาจก่อให้เกิดแรงกระแทกต่อกัน
และปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาอื่นๆ จำนวนมาก จัดเป็นดาวเคราะห์ที่มีรายงานการเดินทางเข้าใกล้กันมากที่สุด
5.หนาวเย็นที่สุด OGLE-2005-BLG-390Lb
บางครั้งได้รับสมญานามจากนาซา ว่า โฮท เป็นหนึ่งในซุปเปอร์เอิร์ทที่มีความหนาวเย็นเป็นที่สุด และ
ถูกค้นพบภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2006 แม้จะมีสภาพที่ไม่ซัพพอรต์การดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต
และอยู่ไกลจากโลกถึง 21500+-3300 ปีแสงก็ตามที่ แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาข้อมูล
ทางดาราศาสตร์ของโฮทเอาใว้ ก็ถือว่าเป็นอะไรที่จะเป็นประโยชน์กับเผ่าพันธ์ของเรา ในอนาคตอย่างแน่นอน
โฮทถูกคาดการ์ณว่าน่าจะมีน้ำหนักมากกว่าโลกของเราห้าเท่า และมีชั้นบรรยากาศที่บางเฉียบเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยระยะห่างจากดาวแม่ที่มาก บวกกับการที่ดาวแม่มีอุณหภูมิที่ต่ำ พลังงานที่โฮทจะได้รับจากดาวแม่
จึงทำให้พึ้นผิวของมันมีความร้อนที่น้อยมาก คือไม่เกิน 50 องศาเคลวินเท่านั้น ถ้าโฮทเป็นดาวเคราะห์หินที่
แข็งตันคล้ายกับโลก พึ้นผิวของมันน่าจะมี แอมโมเนีย มีเทน และไฮโดรเจน หรือถ้ามันเป็นดาวแก้ส
เช่นเดียวกับดาวพฤหัสบดีแล้ว มันน่าจะมีลักษนะคล้ายดาวยูเรนัส มันถูกค้นพบด้วยวิธีไมโครเลนส์
ซึ่งเป็นลูกเล่นเจ๋งๆของนักดาราศาสตร์
4.อยู่ไกลจากดาวแม่มากที่สุด 2MASS J2126-8140
ด้วยระยะห่างจากดาวแม่มากถึง 7,000 หน่วยดาราศาสตร์ ทำให้ตอนแรกมันถูกเข้าใจผิดว่าเป็นดาวโจร
หรือดาวเคราะห์พเนจร ระยะห่างจากดาวแม่ที่สูง ทำให้คนหลายๆคน ไม่เชื่อว่า มันจะทำการ
ไทดัลล็อคกับดาวแม่ได้ ระยะห่างที่มากขนาดนี้ มันหมายถึงมันอาจต้องใช้เวลาร่วมเก้าแสนถึงหนึ่งล้าน
ปี กว่าที่มันจะโคจรรอบดาวแม่ได้ครบ 1 รอบ ซึ่งตั้งแต่เวลาที่มันถือกำเนิดขึ้น มันโคจรรอบดาวแม่ไปไม่ถึง
50 รอบดีด้วยซ้ำไป และมวลของมันก็อยู่ในระดับเดียวกับดาวแคระน้ำตาล คือที่ราวๆ 13 เท่า
เป็นไปได้ว่ามันมีแหล่งพลังงานความร้อนที่แกน ทำให้มันสามารถร้อนแรงได้ถึง 1800 องศาฟาเรนไฮต์
ซึ่งข้อมูลตรงนี้ก็น่าจะเกี่ยวข้องกับมวลของมันครับ
3.อยู่ใกล้ดาวแม่มากที่สุด SWIFT J1756.9-2508 B,PSR J1719-1438 b
พัลซาร์ทรงพลังที่ปลดปล่อยแสงสว่างออกมามากมากเหนือจินตนาการ จะดาวบริวาร
ที่จะโคจรไปรอบๆมัน แต่เสียดายที่มีข้อมูลน้อยไปหน่อย แต่นั้นก็ไม่ใช่ปัญหาร้ายแรง สำหรับเหล่านักดาราศาสตร์ครับ
เพราะว่าเรามีตัวเปรียบเทียบอย่าง PSR J1719-1438 b ที่โคจรไปรอบๆ พัลซาร์ที่มีจังหวะในระดับ
มิลลิวินาที และเจ้าพัลซาร์จะปล่อยสนามแม่เหล็กรุนแรงออกมารอบตัว พึ้นผิวของ PSR J1719-1438B
นั้นมีลักษนะที่มีความหนาแน่นสูงมาก คาดว่าสะท้อนแสงได้ดีเหมือนเพชร และมีความหนาแน่นมากกว่า
ดาวพฤหัสบดีกว่า 20 เท่า มันถูกค้นพบโดยสังเกติจังหวะการเคลื่อนที่ของพัลซาร์
2.NY Virginis b ,NN SERPENTIS c,NN SERPENTIS D
วงโคจร 7 ปี ทำให้ดาวดวงนี้เป็นดาวที่ต้องอยู่รอบดาวแม่เป็นระยะเวลายาวนานมาก แต่นั้นก็ไม่สำคัญ
เมื่อเทียบกับดาวแม่ที่ร้อนแรงอย่างกับเพลิงนรกที่ 33,000 องศา ส่วน NN SERPENTIST เป็นดาวคู่ที่อาจร้อนได้ถึง 57000
องศา เมื่อทำการรวมพลังงานความร้อนเข้าด้วยกัน ระบบดาวเคราะห์ได้รับการคาดการ์ณถึงการมีอยู่รอบ ๆ NN Serpentis โดยหลายทีม ทีมงานทั้งหมดเหล่านี้อาศัยข้อเท็จจริงที่ว่า Earth ตั้งอยู่ในระนาบเดียวกับระบบดาวคู่ของ NN Serpentis ดังนั้นมนุษย์จึงสามารถมองเห็นดาวแคระแดงขนาดใหญ่ทำให้เกิดดาวแคระขาวทุก 0.13 วัน นักดาราศาสตร์จะสามารถใช้สุริยุปราคาบ่อยครั้งเพื่อดูรูปแบบของความผิดปกติเล็ก ๆ แต่มีนัยสำคัญในวงโคจรของดาวซึ่งอาจเป็นผลมาจากการปรากฏตัวและแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์วงโคจร
เฉิน ใช้ "ช่วงเวลาของการเกิดคราส" เพื่อแนะนำช่วงการโคจรสมมุติระหว่าง 30 ถึง 285 ปีและมีมวลต่ำสุดระหว่าง 0.0043 และ 0.18 สุริยจักรวาล
ปลายปี 2009 ได้มีการคาดการ์ณว่ามีมวลต่ำสุดประมาณ 10.7 มวลดาวพฤหัสบดีและระยะเวลาการโคจร 7.56 ปีสำหรับดาวเคราะห์ดวงนี้อาจอยู่ที่หน่วยดาราศาสตร์ 3.29 เรื่องนี้ได้รับการพิสูจน์โดยการตรวจวัดเป็นครั้งๆอย่างต่อเนื่องจากการตรวจสอบระบบดาวคู่
ปลายปีพ. ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 นักวิจัยจากสหราชอาณาจักร (มหาวิทยาลัย Warwick และ University of Sheffield), เยอรมนี (Georg-August-Universitat ในGöttingen, Eberhard-Karls-Universitat ในTübingen), ชิลี (Universidad de Valparaíso) และ United รัฐ (มหาวิทยาลัยเท็กซัสในออสติน) ชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาของการบังแสงดาวแม่เกิดจากดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์สองดวง ดาวก๊าซยักษ์ขนาดใหญ่มีขนาดประมาณ 6 เท่ามวลของดาวพฤหัสบดีและโคจรรอบดาวฤกษ์สองเท่าทุกๆ 15.5 ปีวงโคจรอื่น ๆ ทุกๆ 7.75 ปีและมีมวลประมาณ 1.6 เท่าของดาวพฤหัสบดี