๚ อุปธินิทานา ปภวนฺติ ทุกฺขา
“มีอุปธิเป็นเหตุ เพราะความพันพัว ทุกข์ย่อมเกิดขึ้น”
อ้าง. บาลี. ทฺวยตานุปสฺสนาสุตฺตํ, ที่ ๑๒ ข้อ ๓๙๒.
สาธยาย เทียบบท
“เรื่องดั่งนี้ อย่าไปขัดแย้ง ในเรื่องของความไม่มีสมบัติอย่างปกติ ของทั้ง ๒ ฝ่าย, ธรรมดาคนเราถือกัน นับกันในความน้อมใจเข้าหา ก็ต้องด้วยมี “วุฒิ” หมายความว่า น้อมตนลงด้วยวุฒิอย่างไรอย่างหนึ่ง, ประการแรก ๆ ก็เห็นว่า จะเป็น “วัยวุฒิ, คุณวุฒิ, ชาติวุฒิ”. ฉะนั้น ใครอย่าเพิ่งบ้าคลั่ง ใส่นำน้ำใจตนลงในหัวโขน เอามาตอบ, ทั้งที่ก็เห็นอยู่ว่า เด็กทารกผู้ถูกตี คงจะด้อยอยู่ทั้ง ๓ ประการ ซึ่งประการจะน้อมลงในการถูกโทษ วางทัณฑ์ เอาไว้ ก็คงจะธรรมดาอยู่เอง,
เพราะต่างคนต่างฝ่าย ต่างก็มีศรัทธาความเชื่อ ที่อาจอ่อนถอย น้อยลง อยู่กันไปได้ เปรียบดั่งเป็น แค่เม็ดถั่วคั่ว, ไม่ได้อยู่อย่างเจริญงอกงาม หรือ รอมีดินดีน้ำชุ่มอะไรทั้งนั้น, เพราะว่า กินอร่อย อยู่อร่อย เท่านั้นแล้ว ก็จบลงทุกวัน, เมื่อครูลูกศิษย์พบกัน ฉะนั้น ก็จึงออกบทบาทอย่างนั้น ให้ทุกคนได้เห็น, ดั่งปานจะสมมุติสอนคนทั่ว ๆ ไป ให้รู้ว่า เป็นเช่นนั้นเอง พวกเขาจะให้คนเห็นความเป็นอาชา สัตว์ฝึก ประเภท ๓ คือ ชื่อสัตว์ที่จะฝึกให้เชื่องได้ ให้รู้หน้าที่ได้ ก็จะต้องให้เจ็บถึงเนื้อจึงจะรู้สำนึก, ข้อนี้ คุยไปทั่ว ๆ ไปเลย เด็กทารกอย่างนั้น อย่าอ้างเอาความรู้มาสอบ มาตรวจอะไรมากนัก เพราะเงาปฏักดังปราชย์ผู้รู้จะยกบอกสอน สอนแต่ชาติอาชาไนยประเภท ๑ เท่านั้น จึงจะรู้จะเข้าใจได้ ซึ่งก็คือ สัตว์นั้นจะฝึก เห็นแค่เงาปฏัก ก็สำนึกรู้ดีชั่ว ปฏิบัติตนได้ละเมียดละไม กลมกล่อมเองได้ตลอดเวลา แต่ถ้าหากยังจะต้องเฆี่ยนตีอย่างนั้นแล้ว อย่างไรเสีย ก็คงยังจะสอนให้รู้หนังสือไม่ได้ เพราะการงานแห่งหนังสือ เปรียบไว้ ได้แค่เป็นเงาของปฏัก,
ถ้าจะไม่ให้มีใครถูกตีแบบนั้น สัตว์ที่จะมาฝึก คือตัวคนที่จะมาฝึกนั่นเอง ควรเป็นคนประเภท ๑ และ ๒ จึงจะฝึกพอได้ เพราะว่าประเภทที่ ๑ อ่านแค่ทฤษฎีบท ก็อาจรู้เรื่องตลอดได้ ในประเภทที่ ๒ นั้น ต้องให้เห็นตัวอย่างของจริง จึงรู้เรื่อง, เรื่องนี้ ว่าหนักก็หนัก เพราะว่าคนต้องเจ็บถึงเนื้อ ถูกเถือไปตลอดถึงหนัง แต่เราก็ยังก่อน อย่าตื่น! เพราะท่านว่า หนักกว่านี้ก็มี พระพุทธเจ้าตรัสไว้, ตัวบทพระไตรปิฎกอ้างไว้ นั่นเอง จะให้เห็นได้ ว่าประเภทที่ ๔ นั้น เป็นพวกที่เปรียบว่า ต้องถูกล่าม ถูกปฏักปักทิ่มลึกลงจนถึงกระดูก จึงจะพอรู้ได้ว่า ตนควรจะต้องทำอย่างไร หากว่าตัวไม่อยากจะตายไปเปล่า ๆ ให้ต้องเสียชาติที่ต้องเกิดมา”
เทียบศัพท์
อุปธิ ว่า “อุปปุพฺโพ”, เทียบศัพท์ อธิมุต ว่า อธิปุพฺโพ.
สรุป สารูป
บรรดาสัตว์ ชาติ ชน คน ชื่อสำเร็จ แต่ว่า นระ! นั้น, สารูป ควรได้แก่ อุปธิ! ไม่ใช่ จะกล่าวแก่ คำตรัส ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่นว่า “สัตว์นั้น ได้แก่ สัตว์ผู้มีอธิมุตดี หรืออธิมุตเลว เป็นต้น”.
(หมายเหตุ เทียบศัพท์! ควรให้เห็นว่า ในฝ่ายที่เลว หรือทราม ชั่วใกล้กันด้วยธรรมระหว่างนั้น ท่านให้พึงเรียกด้วยคำทั่วไปว่า ‘เป็นด้วยรสนิยม’. ดั่งนั้น เราก็ควร เห็นว่าใช่! เพราะว่าในสมัยนี้ ที่ใดนั้น แม้แต่การซาดิสต์ ลามก น่าเกลียด ชนบางกลุ่ม ชนบางจำพวก ก็อาจยกให้เป็นสิ่งชื่นชอบ และนิยมกันและกัน)
ใครไปตามแต่รสนิยม ก็จะมาตอบคำถามแบบนี้ไม่ได้ เพราะว่า คำถามโจทน์แบบนี้ เป็นความดี เป็นวิชา เปล่า ๆ ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม
“มีอุปธิเป็นเหตุ เพราะความพันพัว ทุกข์ย่อมเกิดขึ้น”
อ้าง. บาลี. ทฺวยตานุปสฺสนาสุตฺตํ, ที่ ๑๒ ข้อ ๓๙๒.
สาธยาย เทียบบท
“เรื่องดั่งนี้ อย่าไปขัดแย้ง ในเรื่องของความไม่มีสมบัติอย่างปกติ ของทั้ง ๒ ฝ่าย, ธรรมดาคนเราถือกัน นับกันในความน้อมใจเข้าหา ก็ต้องด้วยมี “วุฒิ” หมายความว่า น้อมตนลงด้วยวุฒิอย่างไรอย่างหนึ่ง, ประการแรก ๆ ก็เห็นว่า จะเป็น “วัยวุฒิ, คุณวุฒิ, ชาติวุฒิ”. ฉะนั้น ใครอย่าเพิ่งบ้าคลั่ง ใส่นำน้ำใจตนลงในหัวโขน เอามาตอบ, ทั้งที่ก็เห็นอยู่ว่า เด็กทารกผู้ถูกตี คงจะด้อยอยู่ทั้ง ๓ ประการ ซึ่งประการจะน้อมลงในการถูกโทษ วางทัณฑ์ เอาไว้ ก็คงจะธรรมดาอยู่เอง,
เพราะต่างคนต่างฝ่าย ต่างก็มีศรัทธาความเชื่อ ที่อาจอ่อนถอย น้อยลง อยู่กันไปได้ เปรียบดั่งเป็น แค่เม็ดถั่วคั่ว, ไม่ได้อยู่อย่างเจริญงอกงาม หรือ รอมีดินดีน้ำชุ่มอะไรทั้งนั้น, เพราะว่า กินอร่อย อยู่อร่อย เท่านั้นแล้ว ก็จบลงทุกวัน, เมื่อครูลูกศิษย์พบกัน ฉะนั้น ก็จึงออกบทบาทอย่างนั้น ให้ทุกคนได้เห็น, ดั่งปานจะสมมุติสอนคนทั่ว ๆ ไป ให้รู้ว่า เป็นเช่นนั้นเอง พวกเขาจะให้คนเห็นความเป็นอาชา สัตว์ฝึก ประเภท ๓ คือ ชื่อสัตว์ที่จะฝึกให้เชื่องได้ ให้รู้หน้าที่ได้ ก็จะต้องให้เจ็บถึงเนื้อจึงจะรู้สำนึก, ข้อนี้ คุยไปทั่ว ๆ ไปเลย เด็กทารกอย่างนั้น อย่าอ้างเอาความรู้มาสอบ มาตรวจอะไรมากนัก เพราะเงาปฏักดังปราชย์ผู้รู้จะยกบอกสอน สอนแต่ชาติอาชาไนยประเภท ๑ เท่านั้น จึงจะรู้จะเข้าใจได้ ซึ่งก็คือ สัตว์นั้นจะฝึก เห็นแค่เงาปฏัก ก็สำนึกรู้ดีชั่ว ปฏิบัติตนได้ละเมียดละไม กลมกล่อมเองได้ตลอดเวลา แต่ถ้าหากยังจะต้องเฆี่ยนตีอย่างนั้นแล้ว อย่างไรเสีย ก็คงยังจะสอนให้รู้หนังสือไม่ได้ เพราะการงานแห่งหนังสือ เปรียบไว้ ได้แค่เป็นเงาของปฏัก,
ถ้าจะไม่ให้มีใครถูกตีแบบนั้น สัตว์ที่จะมาฝึก คือตัวคนที่จะมาฝึกนั่นเอง ควรเป็นคนประเภท ๑ และ ๒ จึงจะฝึกพอได้ เพราะว่าประเภทที่ ๑ อ่านแค่ทฤษฎีบท ก็อาจรู้เรื่องตลอดได้ ในประเภทที่ ๒ นั้น ต้องให้เห็นตัวอย่างของจริง จึงรู้เรื่อง, เรื่องนี้ ว่าหนักก็หนัก เพราะว่าคนต้องเจ็บถึงเนื้อ ถูกเถือไปตลอดถึงหนัง แต่เราก็ยังก่อน อย่าตื่น! เพราะท่านว่า หนักกว่านี้ก็มี พระพุทธเจ้าตรัสไว้, ตัวบทพระไตรปิฎกอ้างไว้ นั่นเอง จะให้เห็นได้ ว่าประเภทที่ ๔ นั้น เป็นพวกที่เปรียบว่า ต้องถูกล่าม ถูกปฏักปักทิ่มลึกลงจนถึงกระดูก จึงจะพอรู้ได้ว่า ตนควรจะต้องทำอย่างไร หากว่าตัวไม่อยากจะตายไปเปล่า ๆ ให้ต้องเสียชาติที่ต้องเกิดมา”
เทียบศัพท์
อุปธิ ว่า “อุปปุพฺโพ”, เทียบศัพท์ อธิมุต ว่า อธิปุพฺโพ.
สรุป สารูป
บรรดาสัตว์ ชาติ ชน คน ชื่อสำเร็จ แต่ว่า นระ! นั้น, สารูป ควรได้แก่ อุปธิ! ไม่ใช่ จะกล่าวแก่ คำตรัส ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่นว่า “สัตว์นั้น ได้แก่ สัตว์ผู้มีอธิมุตดี หรืออธิมุตเลว เป็นต้น”.
(หมายเหตุ เทียบศัพท์! ควรให้เห็นว่า ในฝ่ายที่เลว หรือทราม ชั่วใกล้กันด้วยธรรมระหว่างนั้น ท่านให้พึงเรียกด้วยคำทั่วไปว่า ‘เป็นด้วยรสนิยม’. ดั่งนั้น เราก็ควร เห็นว่าใช่! เพราะว่าในสมัยนี้ ที่ใดนั้น แม้แต่การซาดิสต์ ลามก น่าเกลียด ชนบางกลุ่ม ชนบางจำพวก ก็อาจยกให้เป็นสิ่งชื่นชอบ และนิยมกันและกัน)