พอดีช่วงนี้อ่านข่าวต่างๆแล้วเกิดความรู้สึกว่า ไม่เป็นธรรมกับผู้เสียหายครับ
ก็เลยมีความคิดว่า กฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน มันตรงกับความรู้สึกผมจริงๆ
เพราะผมมีความคิดว่า เมื่อผู้กระทำผิดได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตผู้อื่น
แต่เวลาได้รับโทษ กลับกลายเป็นโทษจำคุก หรือเป็นค่าปรับต่างๆแทน
ซึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบกับชีวิตที่เสียหายไปได้เลย
และในความเป็นจริงโทษจำคุก(เมืองไทย)ก็ได้รับการลดหย่อนมากๆๆๆๆๆ
เลยทำให้เกิดความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรมเลย
ดังนั้นผมเลยอยากมาชวนคุยกันเล่นๆนะครับว่า กฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน
มันเป็นเรื่องของความยุติธรรมหรือไม่ครับ
ขอยกตัวอย่างเคสต่างๆนะครับ
เช่น
กรณีมีการลืมเด็กเล็กไว้ภายในรถ จนในที่สุดเด็กเสียชีวิต
เมื่อผ่านกระบวนการพิภากษาถึงที่สุดแล้ว
ผู้กระทำผิดที่เกี่ยวข้องต้องถูกลงโทษโดย ถูกขังอยู่ในรถตากแดดจนกว่าจะเสียชีวิตเช่นกัน
กรณีอุบัติเหตุเช่นป้าขับรถชน รปภ. ของสนามบินบาดเจ็บสาหัส
แล้วมาบอกว่าเป็นโรคประจำตัวบางอย่าง ---> (ถ้ารู้ว่าเป็นโรคประจำตัวก็ไม่ควรขับรถไหมครับ ถือว่าเป็นการเจตนาทำร้ายผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน)
เมื่อตัดสินถึงที่สุดแล้ว ผู้กระทำผิดต้องถูกลงโทษโดยไปยืนให้เจ้าหน้าที่ขับรถชนเช่นเดียวกัน
กรณีทำร้ายต่างกายต่างๆ ก็เช่นกันครับ ผู้กระทำผิดต้องถูกลงโทษแบบเดียวกับที่ผู้เสียหายถูกกระทำ
คราวนี้มาพูดถึงผลดี ผลเสียกันบ้างครับ
ผมเห็นว่า ผลดีคือ จะทำให้ประชาชนมีความระมัดระวังมากขี่นไม่ให้เกิดการกระทำที่ทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
ส่วนผลเสียก็คงมีหลายอย่าง ---> มาช่วยวิเคราะห์เล่นๆกันดีกว่าครับ
กฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน เคยมีการใช้ในอดีตหลายๆภูมิภาคในโลก แต่มีการยกเลิกการบังคับใช้ไปในที่สุด
เพื่อนๆคิดว่า มันยังเหมาะสมอยู่หรือไม่ครับ หรือมันตกยุคไปแล้วจริงๆ
ปล.
ขอเป็นประเด็นที่มีความผิดชัดเจน สอบสวนเป็นธรรม ตัดสินอย่างเที่ยงธรรมนะครับ
ประเด็นการถูกใส่ร้ายคงไม่รวมในหัวข้อนี้
ชวนคุยเรื่องสมมุติกันเล่นๆนะครับ เรื่องกฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน
ก็เลยมีความคิดว่า กฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน มันตรงกับความรู้สึกผมจริงๆ
เพราะผมมีความคิดว่า เมื่อผู้กระทำผิดได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตผู้อื่น
แต่เวลาได้รับโทษ กลับกลายเป็นโทษจำคุก หรือเป็นค่าปรับต่างๆแทน
ซึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบกับชีวิตที่เสียหายไปได้เลย
และในความเป็นจริงโทษจำคุก(เมืองไทย)ก็ได้รับการลดหย่อนมากๆๆๆๆๆ
เลยทำให้เกิดความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรมเลย
ดังนั้นผมเลยอยากมาชวนคุยกันเล่นๆนะครับว่า กฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน
มันเป็นเรื่องของความยุติธรรมหรือไม่ครับ
ขอยกตัวอย่างเคสต่างๆนะครับ
เช่น
กรณีมีการลืมเด็กเล็กไว้ภายในรถ จนในที่สุดเด็กเสียชีวิต
เมื่อผ่านกระบวนการพิภากษาถึงที่สุดแล้ว
ผู้กระทำผิดที่เกี่ยวข้องต้องถูกลงโทษโดย ถูกขังอยู่ในรถตากแดดจนกว่าจะเสียชีวิตเช่นกัน
กรณีอุบัติเหตุเช่นป้าขับรถชน รปภ. ของสนามบินบาดเจ็บสาหัส
แล้วมาบอกว่าเป็นโรคประจำตัวบางอย่าง ---> (ถ้ารู้ว่าเป็นโรคประจำตัวก็ไม่ควรขับรถไหมครับ ถือว่าเป็นการเจตนาทำร้ายผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน)
เมื่อตัดสินถึงที่สุดแล้ว ผู้กระทำผิดต้องถูกลงโทษโดยไปยืนให้เจ้าหน้าที่ขับรถชนเช่นเดียวกัน
กรณีทำร้ายต่างกายต่างๆ ก็เช่นกันครับ ผู้กระทำผิดต้องถูกลงโทษแบบเดียวกับที่ผู้เสียหายถูกกระทำ
คราวนี้มาพูดถึงผลดี ผลเสียกันบ้างครับ
ผมเห็นว่า ผลดีคือ จะทำให้ประชาชนมีความระมัดระวังมากขี่นไม่ให้เกิดการกระทำที่ทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
ส่วนผลเสียก็คงมีหลายอย่าง ---> มาช่วยวิเคราะห์เล่นๆกันดีกว่าครับ
กฏหมายตาต่อตา-ฟันต่อฟัน เคยมีการใช้ในอดีตหลายๆภูมิภาคในโลก แต่มีการยกเลิกการบังคับใช้ไปในที่สุด
เพื่อนๆคิดว่า มันยังเหมาะสมอยู่หรือไม่ครับ หรือมันตกยุคไปแล้วจริงๆ
ปล.
ขอเป็นประเด็นที่มีความผิดชัดเจน สอบสวนเป็นธรรม ตัดสินอย่างเที่ยงธรรมนะครับ
ประเด็นการถูกใส่ร้ายคงไม่รวมในหัวข้อนี้