"ขอขอบคุณเพจ GUN in The World อย่างสูงครับ"
https://www.facebook.com/Supakorngimzaa/?hc_ref=ARSVP07Rd-CFgU5_qUtnwLMw_f0KEuzMrtl4JqDBDueoDXYXpdasmnupVxHVRkYvqMQ&fref=nf
แคนาดาเป็นอีกหนึ่งประเทศที่สงบแต่ทหารนั้นรบเก่งๆมากๆประเทศแคนาดานั้นเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและเชื้อชาติอาหารประเทศนี้ก็เหมือนเป็นส่วนผสมที่ลงตัวหละหว่างอังกฤษและฝรั่งเศษวันนี้ผมจะมาพูดถึงปืนไรเฟิลของแคนาดาอย่าง Colt Cannda C7 ครับ
The history of the Colt Canada C7
C7 เป็นปืนไรเฟิลสัญชาติแคนาดาที่ทำการผลิตโดยบริษัท Diemaco (Colt Canada นั่นแหละ) โดยทางแคนาดาได้ทำการซื้อสิทธิบัตรของ US Colt Model 715(M16a2)มาผลิตเองในประเทศ โดยข้อมูลทางเทคนิคทุกอย่างทาง Colt ได้ทำการมอบให้ข้อมูลกับรัฐบาลแคนาดาทุกๆส่วน อย่างไรก็ตามทาง Diemaco นั้นได้ทำการตรวจสอบและออกแบบเปลี่ยนไปตัวปืนกว่า 150 ครั้งก่อนที่จะเข้าสู่สายการผลิต โดยการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ได้ทำการเปลี่ยนวัสดุและกระบวนการผลิตให้เป็นรูปเป็นธรรมทั้งหมด
ปืนไรเฟิลตระกูล C7 นั้นถูกใช้เป็นปืนไรเฟิลประจำกายมารตฐานของกองทัพแคนาดา และนอกจากนี้ยังมีลูกค้าต่างประเทศด้วยคือ นอร์เวย์(ประจำการเฉพาะในหน่วยรบพิเศษ) และเดนมาร์ก กับ เนเธอร์แลนด์ก็นำไปใช้เป็นปืนไรเฟิลหลักของกองทัพเช่นเดียวกัน
ส่วน C8 นั้นถูกใช้โดยหน่วยรบพิเศษของสหราชอาณาจักรและหน่วยอื่นในกองทัพอังกฤษ นอกจากนี้ปืนยังได้ถูกใช้งานในสงครามด้วยโดยประเทศที่ใช้ปืนชนิดนี้รบได้แก่ แคนาดา อังกฤษ นอร์เวย์ ดัตช์ เดนมาร์ค อัฟกานิสถาน และ อิรัก
การพัฒนาตัวC7 นั้นขนานกับ M16a2 โดย Colt มันเป็นความร่วมมือกันระหว่างของนาวิกโยธินสหรัฐและกองทัพแคนาดาในการทำการปรับปรุง M16a1 ดั้งเดิม(ช่วงนี้เป็นช่วงเข้าสู่ยุคA2) โดยได้ทำการส่งข้อมูลการพัฒนานั้นไปยังสำนักงานโครงการเปลี่ยนแปลงปืนไรเฟิลของแคนาดา C7 นั้นมีความคล้ายคลึงกับ M16a1s (เป็นรุ่นก่อนทีจะเป็น M16a2s) C7 ถูกผลิตขึ้น Colt Canada โดย C7 นั้นยังคงใช้ระบบปฏิบัติการแบบ Direct impingement แบบเดียวกับที่ใช้ในตระกูล AR-15 ส่วนเรื่องโหมดการยิงนั้นจะเป็นแบบเดียวกับ M16a1 และ M16a3 คือ Semi auto และ Full auto ส่วนศูนย์เล็งของปืนนั้นยังคงเป็นแบบM16a1อยู่และนอกจากนี้ตัว C7 นั้นยังได้เสริมสร้างโครงสร้างภายในตัวปืนให้แข็งแรงขึ้นและพานท้ายปืนก็ได้ทำการปรับเปลี่ยนใหม่ เพื่อให้เหมาะกับเจ้า C7 นอกจากนี้ยังได้ทำการเสริมโครงสร้างตรงส่วนของช่องใส่แม็กกาซีนและรังเพลิงเพื่อให้แข็งแรงขึ้นและตรงส่วนข้อต่อพานท้ายนั้นได้เปลี่ยนไปใช้ข้อต่อขนาด 0.5นิ้วแทนเพื่อให้สามารถปรับความยาวของพานท้ายปืนได้ โดยเจ้าตัวปืน C7 สามารถติดตั้งเครื่องยิงลูกระเบิด M203 ตรงส่วนปากลำกล้องได้ และตัวปืนนั้นจะมีอัตราการยิงอยู่ที่ 700-900 นัดต่อนาที
แต่หละรุ่นของ C7
C7a1
C7a1(Diemaco C7FT) จะทำการเปลี่ยนแปลงตรงส่วนหูหิ้วและศูนย์เล็งของปืน โดยหูหิ้วของตัวปืนนั้นสามารถทำการถอดออกและติดตั้งกล้องเล็งแบบต่างๆได้ โดยตรงส่วนการพัฒนารางติดอุปกรณ์เสริมของแคนาดานั้นเริ่มพัฒนาก่อนที่กองทัพสหรัฐจะกำหนดให้รางแบบ MIL-STD-1913 ”Picatinny rail” ดังนั้นเจ้าราง ”Canadian Rail”หรือ”Diemaco Rail” นั้นจะแตกต่างกันเล็กน้อยโดยจะมีตรงส่วนร่องของรางแค่ 14 ช่องแทนที่จะเป็น 13 ช่องแบบมารตฐานกองทัพสหรัฐแทน โดยในแต่หละช่องนั้นจะแคบลง และควางสูงของรางนั้นจะสูงกว่า และเมื่อทำการติดอุปกรณ์เสริมนั้นก็จะสูงกว่าปกติด้วย
ราง Picatinny rail นั้นจำเป็นต้องจะต้องใช้การทำเครื่องหมายรูปตัวF ไว้ในจุดที่สูงที่สุดของราง ในระหว่างการพัฒนานั้นตัวรางนั้นทำการยึดด้วยตัวยึดตรงส่วนด้านบนของตัวปืน สำหรับการผลิตรางชนิดนี้นั้นจะถูกสร้างขึ้นด้วยการหลอมครั้งเดียว โดยตัวรางนั้นสามารถติดตั้งศูนย์เล็งแบบดั้งเดิมได้และก็สามารถทำการติดตั้งกล้องเล็งแบบ ELCAN C79 Optical sight 3.4x โดยกล้องเล็งชนิดนี้เป็นกล้องที่ออกแบบมาให้ปืนC7โดยเฉพาะโดยตัวกล้องเล็งนั้นจะเป็นขีดตรงๆทำให้ผู้ใช้งานนั้นสามารถทำการเล็งได้ง่ายและไม่ทำให้เกิดอาการปวดตัวครับโดยตัวกล้องนี้ยังสามารถใช้ร่วมกับปืนกลเบาC9ได้ด้วย และเวลาผู้ใช้งานทำการนอนยิงนั้นตัวกล้องก็ไม่เจอปัญหาศูนย์เคลื่อนหรือปัญหาขึ้นฝ่าเพราะตัวกล้องนั้นได้ทำการออกแบบมาเป็นอย่างดีตัวกล้องนั้นมีกำลังขยาย3.4x ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานนั้นสามารถมองเห็นเป้าหมายได้อย่างชัดเจนในระยะ400เมตรถึงแม้ว่าตัวกล้องนั้นจะมีกำลังขยายที่ค่อนข้างสูงกับมุมมองที่ค่อนข้างกว้างแต่ยังมีค่อนเสียในเรื่องของการเพิ่มกำลังขยายที่ตัวปรับกำลังขยายของกล้องนั้นหมุนค่อนข้างที่จะยากจากเสียงบ่นบางส่วนของทหารแคนาดาและตัวกล้องนั้นสามารถลดกำลังขยายลงได้เพื่อรองรับการต่อสู้แบบระยะประชิด ตัวศูนย์เล็งนั้นจะเปลี่ยนจากเสาสี่เหลี่ยมจัตตุรัสเป้นเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 0.05นิ้ว ส่วนในเรื่องการปรับศูนย์เล็งนั้นเนื่องจากตัวปืนยังใช้ศูนย์เล็งแบบ M16a1 อยู่การปรับศูนย์นั้นยังทำได้ไม่ค่อยละเอียดมากนะโดยตัวศูนย์เล็งดั้งเดิมที่มากับตัวปืนนั้นมีระยะการมองเห็นอยู่ที่ประมาณ300เมตร(เป็นปืนที่ทำเมื่อใช้กับกล้องC79จริง)
C7a2
ในช่วงที่แคนาดาส่งทหารไปเข้าร่วมรบที่อัฟกานิสถาน Diemaco และกองทัพแคนาดาได้ทำการพัฒนาตัวปืนC7a1เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานปืนได้ดียิ่งขึ้นในสมรภูมิอัฟกานิสถานผลที่ได้คือรุ่นที่พัฒนาต่อมีชื่อว่า C7a2 นั้นมีหลายๆจุดที่ค่อนข้างที่จะเหมือน C8 carbine และรางแบบ TRI-AD ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของปืน และยังสามารถติดกริบมือแบบพับเก็บได้ตรงบริเวณแม็กกาซีนด้วยนอกจากนี้ตัวปืน C7a2 นั้นยังทำการเปลี่ยนบางส่วนของปืนให้กลายเป็นสีเขียวด้วย โดยอุปกรณ์เสริมเหล่านี้ถูกมองว่าทำออกมาคล้ายๆของอเมริกัน(ก็ต้องคล้ายอยู่แล้วหละแหมมมมม) นอกจากนี้แล้ว C7a2 ยังได้เพิ่ม Scope แบบ ELCAN x3.4 แต่มีการหุ้มด้วยยางสีเขียว แต่มีรายงานว่าทหารบางคนนั้นเลือกที่จะไปซื้อ red dot อย่าง EOTech 553 หรือ Scope แบบ Trijicon ACOG (ประมาณว่าของหลวงให้มาไม่ถูกใจซื้อเอง
เลย) และ C7a2 นั้นทำการเพิ่มรางแบบ TRI-AD rail mount ทำให้ทหารสามารถติดตั้งอุปกรณ์เสริมทางยุทธวิธีได้เยอะมากขึ้นครับ
และล่าสุดทางกองทัพแคนาดาได้มองหาการปรับปรุงC7a2ให้ตัวปืนนั้นมีความทันสมัยมากขึ้นโดยในช่วงกลางปี 2016 นั้นกองทัพแคนาดาได้ทำการอัพเกรดปืน C7a2 โดยสิ่งที่อัพเกรดขึ้นมาคือ เปลี่ยนตรงส่วนประกับของปืนให้เป็นมารตฐานและด้านหน้าของตัวปืนนั้นได้เพิ่มในส่วนของ Quad rail เพื่อให้มีความกระชับขึ้น โดยแคนาดาได้เสนอแบบปรับปรุงนี้ให้กองทัพเนเธอร์แลนด์ด้วย โดยการปรับปรุงในครั้งนี้ทำให้ตัวปืนนั้นสามารถติดเครื่องยิงลูกระเบิดแบบM203a1ได้เลยโดยไม่ต้องดัดแปลงเพิ่ม และไดเปลี่ยนตรงส่วนตัวยึด upper ไปใช้แบบ Magpul M-LOK แทน แล้วเปลี่ยนลำกล้องไปใช้ขนาด 18.6นิ้วแทน 20นิ้วแบบมารตฐาน และในส่วนของสลักเกียวนั้นก็สั้นลงเช่นกันครับ
รายละเอียดโดยรวม
1.น้ำหนัก:3.3kg
2.ขนาดกระสุน:5.56x45mm m855
3.ระยะหวังผล400เมตร (iron sight)/600เมตร(with scope)
4.แม็กกาซีน:แม็กกาซีนจุ30นัด
5.ระบบปฏิบัติการ gas operated/rotating bolt
5.สัญชาติ:แคนาดา
ขอบคุณที่รับชมสวัสดีครับ
เครดิต/อ้างอิง
https://en.wikipedia.org/wiki/Colt_Canada_C7
https://www.coltcanada.com/assets/10047s-1-2005-08-17.pdf
สวัสดีครับ
สารานุกรมปืนตอนที่ 157 Colt Canada C7 ไรเฟิลแคนาเดี่ยน
https://www.facebook.com/Supakorngimzaa/?hc_ref=ARSVP07Rd-CFgU5_qUtnwLMw_f0KEuzMrtl4JqDBDueoDXYXpdasmnupVxHVRkYvqMQ&fref=nf
แคนาดาเป็นอีกหนึ่งประเทศที่สงบแต่ทหารนั้นรบเก่งๆมากๆประเทศแคนาดานั้นเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและเชื้อชาติอาหารประเทศนี้ก็เหมือนเป็นส่วนผสมที่ลงตัวหละหว่างอังกฤษและฝรั่งเศษวันนี้ผมจะมาพูดถึงปืนไรเฟิลของแคนาดาอย่าง Colt Cannda C7 ครับ
The history of the Colt Canada C7
C7 เป็นปืนไรเฟิลสัญชาติแคนาดาที่ทำการผลิตโดยบริษัท Diemaco (Colt Canada นั่นแหละ) โดยทางแคนาดาได้ทำการซื้อสิทธิบัตรของ US Colt Model 715(M16a2)มาผลิตเองในประเทศ โดยข้อมูลทางเทคนิคทุกอย่างทาง Colt ได้ทำการมอบให้ข้อมูลกับรัฐบาลแคนาดาทุกๆส่วน อย่างไรก็ตามทาง Diemaco นั้นได้ทำการตรวจสอบและออกแบบเปลี่ยนไปตัวปืนกว่า 150 ครั้งก่อนที่จะเข้าสู่สายการผลิต โดยการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ได้ทำการเปลี่ยนวัสดุและกระบวนการผลิตให้เป็นรูปเป็นธรรมทั้งหมด
ปืนไรเฟิลตระกูล C7 นั้นถูกใช้เป็นปืนไรเฟิลประจำกายมารตฐานของกองทัพแคนาดา และนอกจากนี้ยังมีลูกค้าต่างประเทศด้วยคือ นอร์เวย์(ประจำการเฉพาะในหน่วยรบพิเศษ) และเดนมาร์ก กับ เนเธอร์แลนด์ก็นำไปใช้เป็นปืนไรเฟิลหลักของกองทัพเช่นเดียวกัน
ส่วน C8 นั้นถูกใช้โดยหน่วยรบพิเศษของสหราชอาณาจักรและหน่วยอื่นในกองทัพอังกฤษ นอกจากนี้ปืนยังได้ถูกใช้งานในสงครามด้วยโดยประเทศที่ใช้ปืนชนิดนี้รบได้แก่ แคนาดา อังกฤษ นอร์เวย์ ดัตช์ เดนมาร์ค อัฟกานิสถาน และ อิรัก
การพัฒนาตัวC7 นั้นขนานกับ M16a2 โดย Colt มันเป็นความร่วมมือกันระหว่างของนาวิกโยธินสหรัฐและกองทัพแคนาดาในการทำการปรับปรุง M16a1 ดั้งเดิม(ช่วงนี้เป็นช่วงเข้าสู่ยุคA2) โดยได้ทำการส่งข้อมูลการพัฒนานั้นไปยังสำนักงานโครงการเปลี่ยนแปลงปืนไรเฟิลของแคนาดา C7 นั้นมีความคล้ายคลึงกับ M16a1s (เป็นรุ่นก่อนทีจะเป็น M16a2s) C7 ถูกผลิตขึ้น Colt Canada โดย C7 นั้นยังคงใช้ระบบปฏิบัติการแบบ Direct impingement แบบเดียวกับที่ใช้ในตระกูล AR-15 ส่วนเรื่องโหมดการยิงนั้นจะเป็นแบบเดียวกับ M16a1 และ M16a3 คือ Semi auto และ Full auto ส่วนศูนย์เล็งของปืนนั้นยังคงเป็นแบบM16a1อยู่และนอกจากนี้ตัว C7 นั้นยังได้เสริมสร้างโครงสร้างภายในตัวปืนให้แข็งแรงขึ้นและพานท้ายปืนก็ได้ทำการปรับเปลี่ยนใหม่ เพื่อให้เหมาะกับเจ้า C7 นอกจากนี้ยังได้ทำการเสริมโครงสร้างตรงส่วนของช่องใส่แม็กกาซีนและรังเพลิงเพื่อให้แข็งแรงขึ้นและตรงส่วนข้อต่อพานท้ายนั้นได้เปลี่ยนไปใช้ข้อต่อขนาด 0.5นิ้วแทนเพื่อให้สามารถปรับความยาวของพานท้ายปืนได้ โดยเจ้าตัวปืน C7 สามารถติดตั้งเครื่องยิงลูกระเบิด M203 ตรงส่วนปากลำกล้องได้ และตัวปืนนั้นจะมีอัตราการยิงอยู่ที่ 700-900 นัดต่อนาที
แต่หละรุ่นของ C7
C7a1
C7a1(Diemaco C7FT) จะทำการเปลี่ยนแปลงตรงส่วนหูหิ้วและศูนย์เล็งของปืน โดยหูหิ้วของตัวปืนนั้นสามารถทำการถอดออกและติดตั้งกล้องเล็งแบบต่างๆได้ โดยตรงส่วนการพัฒนารางติดอุปกรณ์เสริมของแคนาดานั้นเริ่มพัฒนาก่อนที่กองทัพสหรัฐจะกำหนดให้รางแบบ MIL-STD-1913 ”Picatinny rail” ดังนั้นเจ้าราง ”Canadian Rail”หรือ”Diemaco Rail” นั้นจะแตกต่างกันเล็กน้อยโดยจะมีตรงส่วนร่องของรางแค่ 14 ช่องแทนที่จะเป็น 13 ช่องแบบมารตฐานกองทัพสหรัฐแทน โดยในแต่หละช่องนั้นจะแคบลง และควางสูงของรางนั้นจะสูงกว่า และเมื่อทำการติดอุปกรณ์เสริมนั้นก็จะสูงกว่าปกติด้วย
ราง Picatinny rail นั้นจำเป็นต้องจะต้องใช้การทำเครื่องหมายรูปตัวF ไว้ในจุดที่สูงที่สุดของราง ในระหว่างการพัฒนานั้นตัวรางนั้นทำการยึดด้วยตัวยึดตรงส่วนด้านบนของตัวปืน สำหรับการผลิตรางชนิดนี้นั้นจะถูกสร้างขึ้นด้วยการหลอมครั้งเดียว โดยตัวรางนั้นสามารถติดตั้งศูนย์เล็งแบบดั้งเดิมได้และก็สามารถทำการติดตั้งกล้องเล็งแบบ ELCAN C79 Optical sight 3.4x โดยกล้องเล็งชนิดนี้เป็นกล้องที่ออกแบบมาให้ปืนC7โดยเฉพาะโดยตัวกล้องเล็งนั้นจะเป็นขีดตรงๆทำให้ผู้ใช้งานนั้นสามารถทำการเล็งได้ง่ายและไม่ทำให้เกิดอาการปวดตัวครับโดยตัวกล้องนี้ยังสามารถใช้ร่วมกับปืนกลเบาC9ได้ด้วย และเวลาผู้ใช้งานทำการนอนยิงนั้นตัวกล้องก็ไม่เจอปัญหาศูนย์เคลื่อนหรือปัญหาขึ้นฝ่าเพราะตัวกล้องนั้นได้ทำการออกแบบมาเป็นอย่างดีตัวกล้องนั้นมีกำลังขยาย3.4x ซึ่งทำให้ผู้ใช้งานนั้นสามารถมองเห็นเป้าหมายได้อย่างชัดเจนในระยะ400เมตรถึงแม้ว่าตัวกล้องนั้นจะมีกำลังขยายที่ค่อนข้างสูงกับมุมมองที่ค่อนข้างกว้างแต่ยังมีค่อนเสียในเรื่องของการเพิ่มกำลังขยายที่ตัวปรับกำลังขยายของกล้องนั้นหมุนค่อนข้างที่จะยากจากเสียงบ่นบางส่วนของทหารแคนาดาและตัวกล้องนั้นสามารถลดกำลังขยายลงได้เพื่อรองรับการต่อสู้แบบระยะประชิด ตัวศูนย์เล็งนั้นจะเปลี่ยนจากเสาสี่เหลี่ยมจัตตุรัสเป้นเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 0.05นิ้ว ส่วนในเรื่องการปรับศูนย์เล็งนั้นเนื่องจากตัวปืนยังใช้ศูนย์เล็งแบบ M16a1 อยู่การปรับศูนย์นั้นยังทำได้ไม่ค่อยละเอียดมากนะโดยตัวศูนย์เล็งดั้งเดิมที่มากับตัวปืนนั้นมีระยะการมองเห็นอยู่ที่ประมาณ300เมตร(เป็นปืนที่ทำเมื่อใช้กับกล้องC79จริง)
C7a2
ในช่วงที่แคนาดาส่งทหารไปเข้าร่วมรบที่อัฟกานิสถาน Diemaco และกองทัพแคนาดาได้ทำการพัฒนาตัวปืนC7a1เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานปืนได้ดียิ่งขึ้นในสมรภูมิอัฟกานิสถานผลที่ได้คือรุ่นที่พัฒนาต่อมีชื่อว่า C7a2 นั้นมีหลายๆจุดที่ค่อนข้างที่จะเหมือน C8 carbine และรางแบบ TRI-AD ที่ติดตรงบริเวณที่ใกล้ๆกับศูนย์หน้าของปืน และยังสามารถติดกริบมือแบบพับเก็บได้ตรงบริเวณแม็กกาซีนด้วยนอกจากนี้ตัวปืน C7a2 นั้นยังทำการเปลี่ยนบางส่วนของปืนให้กลายเป็นสีเขียวด้วย โดยอุปกรณ์เสริมเหล่านี้ถูกมองว่าทำออกมาคล้ายๆของอเมริกัน(ก็ต้องคล้ายอยู่แล้วหละแหมมมมม) นอกจากนี้แล้ว C7a2 ยังได้เพิ่ม Scope แบบ ELCAN x3.4 แต่มีการหุ้มด้วยยางสีเขียว แต่มีรายงานว่าทหารบางคนนั้นเลือกที่จะไปซื้อ red dot อย่าง EOTech 553 หรือ Scope แบบ Trijicon ACOG (ประมาณว่าของหลวงให้มาไม่ถูกใจซื้อเองเลย) และ C7a2 นั้นทำการเพิ่มรางแบบ TRI-AD rail mount ทำให้ทหารสามารถติดตั้งอุปกรณ์เสริมทางยุทธวิธีได้เยอะมากขึ้นครับ
และล่าสุดทางกองทัพแคนาดาได้มองหาการปรับปรุงC7a2ให้ตัวปืนนั้นมีความทันสมัยมากขึ้นโดยในช่วงกลางปี 2016 นั้นกองทัพแคนาดาได้ทำการอัพเกรดปืน C7a2 โดยสิ่งที่อัพเกรดขึ้นมาคือ เปลี่ยนตรงส่วนประกับของปืนให้เป็นมารตฐานและด้านหน้าของตัวปืนนั้นได้เพิ่มในส่วนของ Quad rail เพื่อให้มีความกระชับขึ้น โดยแคนาดาได้เสนอแบบปรับปรุงนี้ให้กองทัพเนเธอร์แลนด์ด้วย โดยการปรับปรุงในครั้งนี้ทำให้ตัวปืนนั้นสามารถติดเครื่องยิงลูกระเบิดแบบM203a1ได้เลยโดยไม่ต้องดัดแปลงเพิ่ม และไดเปลี่ยนตรงส่วนตัวยึด upper ไปใช้แบบ Magpul M-LOK แทน แล้วเปลี่ยนลำกล้องไปใช้ขนาด 18.6นิ้วแทน 20นิ้วแบบมารตฐาน และในส่วนของสลักเกียวนั้นก็สั้นลงเช่นกันครับ
รายละเอียดโดยรวม
1.น้ำหนัก:3.3kg
2.ขนาดกระสุน:5.56x45mm m855
3.ระยะหวังผล400เมตร (iron sight)/600เมตร(with scope)
4.แม็กกาซีน:แม็กกาซีนจุ30นัด
5.ระบบปฏิบัติการ gas operated/rotating bolt
5.สัญชาติ:แคนาดา
ขอบคุณที่รับชมสวัสดีครับ
เครดิต/อ้างอิง
https://en.wikipedia.org/wiki/Colt_Canada_C7
https://www.coltcanada.com/assets/10047s-1-2005-08-17.pdf