ขอถามว่า ดิฉันเข้าใจแบบนี้ ถูกต้องไหมคะ?
เก็ง = ก + เอะ + ง (เสียงสามัญ)
เก่ง = ก + เอะ + ง + ไม้เอก (เสียงเอก)
เก้ง = ก + เอะ + ง + ไม้โท (เสียงโท)
เก๊ง = ก + เอะ + ง + ไม้ตรี (เสียงตรี)
เก๋ง = ก + เอะ + ง + ไม้จัตวา (เสียงจัตวา)
แล้วถ้าเป็นสระเสียงยาว คือ สระ เ-
เกง = ก + เอ + ง (เสียงสามัญ) เช่น กางเกง
เวลามีวรรณยุกต์ เราจะเขียนอย่างไรคะ? เพราะมันก็จะซ้ำรูปกับข้างบนใช่ไหมคะ?
หรือว่าข้างบนที่เขียนไปเหล่าเป็นสระเสียงยาวทั้งหมด?
เพราะเวลาเราอ่านจะรู้สึกว่า "เก่ง" กับ "เก๋ง" เราออกเสียงสั้น แต่เวลาอ่าน "เก้ง" เราออกเสียงยาว
ขอผู้รู้ช่วยตอบคำถามด้วยค่ะ
ขอบคุณค่ะ
สระ เ-ะ กับ สระ เ-
เก็ง = ก + เอะ + ง (เสียงสามัญ)
เก่ง = ก + เอะ + ง + ไม้เอก (เสียงเอก)
เก้ง = ก + เอะ + ง + ไม้โท (เสียงโท)
เก๊ง = ก + เอะ + ง + ไม้ตรี (เสียงตรี)
เก๋ง = ก + เอะ + ง + ไม้จัตวา (เสียงจัตวา)
แล้วถ้าเป็นสระเสียงยาว คือ สระ เ-
เกง = ก + เอ + ง (เสียงสามัญ) เช่น กางเกง
เวลามีวรรณยุกต์ เราจะเขียนอย่างไรคะ? เพราะมันก็จะซ้ำรูปกับข้างบนใช่ไหมคะ?
หรือว่าข้างบนที่เขียนไปเหล่าเป็นสระเสียงยาวทั้งหมด?
เพราะเวลาเราอ่านจะรู้สึกว่า "เก่ง" กับ "เก๋ง" เราออกเสียงสั้น แต่เวลาอ่าน "เก้ง" เราออกเสียงยาว
ขอผู้รู้ช่วยตอบคำถามด้วยค่ะ
ขอบคุณค่ะ