ในปัจจุบัน เราคงเห็นพระไตรปิฏกมีมากมายหลายฉบับ เรียกว่าหลาย Version เช่น
ฉบับแปลเป็นไทยอย่างพิสดาร (คัมภีร์ใบลาน) ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2481 – 2487
ฉบับแปลเป็นไทยอย่างพิสดาร (ฉบับพิมพ์เป็นเล่ม) ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2500
ฉบับแปลเป็นไทยสำหรับเทศนา (คัมภีร์ใบลาน) ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2484
ฉบับแปลเป็นไทยอย่างย่อ (คัมภีร์ใบลาน) สำหรับใช้เทศน์ในเวลาเข้าพรรษา ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2497
ฉบับแปลภาษาไทยอย่างย่อโดยใจความสำคัญ มี 1 เล่ม ฉบับ นายสุชีพ ปุญญานุภาพ พ.ศ. 2501-2502 (ปัจจุบันมีรวมย่อ 1 เล่ม)
ฉบับแปลภาษาไทยอย่างย่อ ทั้งพระไตรปิฎก มี 1 เล่ม ฉบับ พระอมรมุนี (จับ ฐิตธมฺโม) เรียบเรียง
มหามกุฎราชวิทยาลัยจัดพิมพ์ พ.ศ. 2493
พระไตรปิฎกและอรรถกถาฉบับภาษาไทย จำนวน 91 เล่ม ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัยจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกภาษาอักษรบาลีไทย จำนวน 45 เล่ม ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกภาษาไทย จำนวน 45 เล่ม ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพ์
แม้แต่ พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บน CD – ROM : MCUTARI Version 1.0 ก็มี
เท่าที่ย่อความประวัติความเป็นมาของพระไตรปิฎกฉบับต่างๆ มาให้ จะเห็นได้ว่า ฉบับไหนก็มีเนื้อหาเดียวกันทั้งสิ้น เพราะที่มาถึงในประเทศไทยได้สืบทอดกันมาจากที่พระเจ้าอโศกมหาราชส่งพระธรรมทูตออกเผยแพร่หลังการสังคายนา ไปสู่ดินแดนต่างๆ 9 สายและมายังสุวรรณภูมิโดยพระมหินทะเถระและพระอนุรุทธเถระ เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่องในเชิงประวัติศาสตร์อีกด้วย สำหรับพระไตรปิฎกที่ม.มหิดลจัดทำขึ้น ก็ล้วนแต่เป็นการเรียบเรียงของเดิมที่มีอยู่จำไม่ได้ว่าทางมหิดลอ้างอิงฉบับไหนใช้ อาจจะใช้เทียบเคียงหลายฉบับทีเดียว ที่มา :
https://marin222.wordpress.com/2010/03/05/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99-3/
ทั้งหมดล้วนได้จัดทำขึ้นด้วยความตั้งใจ เพื่อจะสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ก็อนุโมทนาบุญกับคณะท่านผู้จัดทำด้วยครับ
เห็นในข่าวมากันอีกแล้ว เลยไปสืบค้นว่าที่สำนักนี้เขามีวิธีการอย่างไร น่าเชื่อถือเพียงใด
ที่ได้ไปพบเห็นมาคือ พระไตรปิฏกฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต เป็นพระไตรปิฎกที่รวบรวมข้อมูลจากคัมภีร์ใบลานในที่ต่างๆ ทั้งฉบับหลวงของไทย
ใบลานภาษาสิงหลของศรีลังกา ใบลานของพม่า และใบลานฉบับ โดยการถ่ายภาพใบลานทั้งหมดแล้วทำมาเทียบเคียงกัน
แล้วนักวิชาการที่จากมาประเทศเหล่านี้จะสรุปความถูกต้องหลังจากการเทียบเคียง ส่วนข้อมูลใบลานทั้งหมด
รวมถึงส่วนที่ต่างกัน จะเก็บเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เปิดให้นักวิชาการสามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูลต้นฉบับเดิมได้เพื่อการศึกษา
ดังนั้นพระไตรปิฏกฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต จึงเน้นความถูกต้องและมีการรวมข้อมูลที่มาทั้งหมดไว้ด้วย
..............................................................................................
ก็ขออนุโมทนาด้วยนะครับ
ศึกษาเพิ่มเติมได้ใน
https://dmc.tv/a15336
https://dmc.tv/a17033
https://dmc.tv/a17041
https://dmc.tv/a18904
กว่าจะมาจัดทำเป็น พระไตรปิฎก "ยาก" เพียงใด
ในปัจจุบัน เราคงเห็นพระไตรปิฏกมีมากมายหลายฉบับ เรียกว่าหลาย Version เช่น
ฉบับแปลเป็นไทยอย่างพิสดาร (คัมภีร์ใบลาน) ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2481 – 2487
ฉบับแปลเป็นไทยอย่างพิสดาร (ฉบับพิมพ์เป็นเล่ม) ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2500
ฉบับแปลเป็นไทยสำหรับเทศนา (คัมภีร์ใบลาน) ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2484
ฉบับแปลเป็นไทยอย่างย่อ (คัมภีร์ใบลาน) สำหรับใช้เทศน์ในเวลาเข้าพรรษา ฉบับ ส.ธรรมภักดี พ.ศ. 2497
ฉบับแปลภาษาไทยอย่างย่อโดยใจความสำคัญ มี 1 เล่ม ฉบับ นายสุชีพ ปุญญานุภาพ พ.ศ. 2501-2502 (ปัจจุบันมีรวมย่อ 1 เล่ม)
ฉบับแปลภาษาไทยอย่างย่อ ทั้งพระไตรปิฎก มี 1 เล่ม ฉบับ พระอมรมุนี (จับ ฐิตธมฺโม) เรียบเรียง
มหามกุฎราชวิทยาลัยจัดพิมพ์ พ.ศ. 2493
พระไตรปิฎกและอรรถกถาฉบับภาษาไทย จำนวน 91 เล่ม ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัยจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกภาษาอักษรบาลีไทย จำนวน 45 เล่ม ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกภาษาไทย จำนวน 45 เล่ม ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพ์
แม้แต่ พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บน CD – ROM : MCUTARI Version 1.0 ก็มี
เท่าที่ย่อความประวัติความเป็นมาของพระไตรปิฎกฉบับต่างๆ มาให้ จะเห็นได้ว่า ฉบับไหนก็มีเนื้อหาเดียวกันทั้งสิ้น เพราะที่มาถึงในประเทศไทยได้สืบทอดกันมาจากที่พระเจ้าอโศกมหาราชส่งพระธรรมทูตออกเผยแพร่หลังการสังคายนา ไปสู่ดินแดนต่างๆ 9 สายและมายังสุวรรณภูมิโดยพระมหินทะเถระและพระอนุรุทธเถระ เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่องในเชิงประวัติศาสตร์อีกด้วย สำหรับพระไตรปิฎกที่ม.มหิดลจัดทำขึ้น ก็ล้วนแต่เป็นการเรียบเรียงของเดิมที่มีอยู่จำไม่ได้ว่าทางมหิดลอ้างอิงฉบับไหนใช้ อาจจะใช้เทียบเคียงหลายฉบับทีเดียว ที่มา : https://marin222.wordpress.com/2010/03/05/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99-3/
ทั้งหมดล้วนได้จัดทำขึ้นด้วยความตั้งใจ เพื่อจะสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา ก็อนุโมทนาบุญกับคณะท่านผู้จัดทำด้วยครับ
เห็นในข่าวมากันอีกแล้ว เลยไปสืบค้นว่าที่สำนักนี้เขามีวิธีการอย่างไร น่าเชื่อถือเพียงใด
ที่ได้ไปพบเห็นมาคือ พระไตรปิฏกฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต เป็นพระไตรปิฎกที่รวบรวมข้อมูลจากคัมภีร์ใบลานในที่ต่างๆ ทั้งฉบับหลวงของไทย
ใบลานภาษาสิงหลของศรีลังกา ใบลานของพม่า และใบลานฉบับ โดยการถ่ายภาพใบลานทั้งหมดแล้วทำมาเทียบเคียงกัน
แล้วนักวิชาการที่จากมาประเทศเหล่านี้จะสรุปความถูกต้องหลังจากการเทียบเคียง ส่วนข้อมูลใบลานทั้งหมด
รวมถึงส่วนที่ต่างกัน จะเก็บเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เปิดให้นักวิชาการสามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูลต้นฉบับเดิมได้เพื่อการศึกษา
ดังนั้นพระไตรปิฏกฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต จึงเน้นความถูกต้องและมีการรวมข้อมูลที่มาทั้งหมดไว้ด้วย
..............................................................................................
ก็ขออนุโมทนาด้วยนะครับ
ศึกษาเพิ่มเติมได้ใน
https://dmc.tv/a15336
https://dmc.tv/a17033
https://dmc.tv/a17041
https://dmc.tv/a18904