.
.
How This Town Produces No Trash
.
.
.
.
ในช่วงแรก ๆ เมือง
Kamikatsu
ก็เหมือนเมืองเล็ก ๆ ทั่ว ๆ ไป
ที่ทิ้งขยะในที่ทางธรรมชาติ
หรือเผาขยะทิ้งในบริเวณบ้านของตนเอง
แต่การทิ้งขยะ/เผาขยะ ก็สร้างปัญหา
ในเรื่องกลิ่น มลพิษและภาวะโลกร้อน
ดังนั้น ชาวบ้านเมือง Kamikatsu
จึงตัดสินใจร่วมกันว่า
จะเปลี่ยนแปลงแนว
ขยะเท่ากับศูนย์[/ Zero Waste
ในตอนแรกเริ่ม ทุกอย่างต่างเป็นปัญหา
กับอุปสรรคกับทุก ๆ คนในเมืองนี้
การล้าง การคัดแยกขยะ การจัดเรียงขยะ
เป็นงานที่น่าเบื่อและเสียเวลามากในแต่วัน
ทั้งขวดแก้ว ขวดพลาสติค
จะต้องแกะฝาขวดและสลากออกก่อน
แล้วนำไปจัดเรียงตามสีของขวดแต่ละชนิด
เช่น ขวดพลาสติคที่ใช้กับซีอิ้วปรุงรส
ขวดน้ำมันพืชที่ใช้ปรุงอาหาร
ต้องแยกขวด
Pet ที่ใส่น้ำแร่หรือชาเขียว
กระดาษหนังสือพิมพ์ นิตยสารต่าง ๆ
จะต้องจัดวางเป็นชุดแล้วมัดให้เรียบร้อยด้วย
มีกฎระเบียบต่าง ๆ มากมาย
และแยกขยะออกมาถึง
34 ประเภท
ซึ่งทำให้ขายได้ราคาดี/ดีต่อโรงงานรีไซเคิลในการแปรรูปได้สะดวกรวดเร็วขึ้น
แบบ Win/Win ทั้งสองฝ่ายในการกำจัดขยะ
และการขายขยะที่รีไซเคิลได้
ทั้งนี้ จะไม่มีรถยนต์เก็บขยะ
จากบ้านพักของชาวบ้านเมืองนี้
ชาวบ้านทุกคนต้องนำขยะไปยังศูนย์ขยะรีไซเคิล
คนงานที่ศูนย์รีไซเคิลจะต้องทำการตรวจสอบ
ให้มั่นใจก่อนว่า ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะ
ตามประเภทแล้วก่อนนำมาส่งที่ศูนย์ขยะฯ
เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว
จึงหย่อนลงในถังขยะรวมเฉพาะอย่าง
เพื่อเก็บรวบรวมนำไปจำหน่ายต่อไป
เสื้อผ้าที่ใช้แล้ว เครื่องประดับต่าง ๆ
หรือข้าวของต่าง ๆ ที่ชาวบ้านบางคนไม่ใช้แล้ว
จะถูกนำมาฝากไว้ที่ศูนย์ขยะฯ
เพื่อแลกเปลี่ยนข้าวของกัน
หรือให้นำไปใช้ประโยชน์ได้ฟรีเลย
และยังมีโรงงานสตรีข้าง ๆ ศูนย์ขยะฯ
ที่ชาวเมืองนี้ทำการผลิตชุดกิโมโน
สำหรับตุ๊กตาหมี และอื่น ๆ
เรื่องเดิมที่เคยเป็นภาระหนักอกของชาวบ้าน
กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวีตประจำวัน
ของชาวบ้าน Kamikatsu ที่ต่างสังเกตขยะ
ในรูปแบบที่แตกต่างออกไป
ต่างตระหนักถึงสินค้าที่จะอุปโภคบริโภค
ว่าจะใช้อย่างไรและจะกำจัดไปได้อย่างไร
ร้านค้าแห่งหนึ่งใน Kamikatsu กล่าวว่า
ตั้งแต่ที่เริ่มมีโครงการนี้ในเมือง
การสั่งซื้อสินค้าเข้าร้าน
ก็จะเลือกแต่สินค้าที่มีกล่องบรรจุมาให้
เพื่อสามารถนำกล่องดังกล่าว
ไปใส่ข้าวของอย่างอื่นได้
ในที่สุด เมืองขนาดเล็ก
ที่มีประชากรไม่เกิน 1,700 คน
ก็สามารถกำจัดขยะด้วยการรีไซเคิลอย่างได้ผล
เพราะมีขยะตกค้างเพียง 20%
ที่ต้องนำไปกลบฝังในพื้นดิน
มักจะเป็นเศษอาหารหรือวัสดุทางการเกษตร
ที่ต้องนำมาหมักและกลบฝังสักระยะเวลาหนึ่ง
เพื่อให้กลายเป็นปุ๋ยอินทรีย์ต่อไป
ชาวบ้านหวังว่า
เมืองจะไร้ขยะในปี 2020
.
.
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/BuV6rX
https://goo.gl/1jJ6Ym
https://goo.gl/Akmsig
Kamikatsu เมืองไร้ขยะ
.
How This Town Produces No Trash
.
.
.
.
ในช่วงแรก ๆ เมือง Kamikatsu
ก็เหมือนเมืองเล็ก ๆ ทั่ว ๆ ไป
ที่ทิ้งขยะในที่ทางธรรมชาติ
หรือเผาขยะทิ้งในบริเวณบ้านของตนเอง
แต่การทิ้งขยะ/เผาขยะ ก็สร้างปัญหา
ในเรื่องกลิ่น มลพิษและภาวะโลกร้อน
ดังนั้น ชาวบ้านเมือง Kamikatsu
จึงตัดสินใจร่วมกันว่า
จะเปลี่ยนแปลงแนว ขยะเท่ากับศูนย์[/ Zero Waste
ในตอนแรกเริ่ม ทุกอย่างต่างเป็นปัญหา
กับอุปสรรคกับทุก ๆ คนในเมืองนี้
การล้าง การคัดแยกขยะ การจัดเรียงขยะ
เป็นงานที่น่าเบื่อและเสียเวลามากในแต่วัน
ทั้งขวดแก้ว ขวดพลาสติค
จะต้องแกะฝาขวดและสลากออกก่อน
แล้วนำไปจัดเรียงตามสีของขวดแต่ละชนิด
เช่น ขวดพลาสติคที่ใช้กับซีอิ้วปรุงรส
ขวดน้ำมันพืชที่ใช้ปรุงอาหาร
ต้องแยกขวด Pet ที่ใส่น้ำแร่หรือชาเขียว
กระดาษหนังสือพิมพ์ นิตยสารต่าง ๆ
จะต้องจัดวางเป็นชุดแล้วมัดให้เรียบร้อยด้วย
มีกฎระเบียบต่าง ๆ มากมาย
และแยกขยะออกมาถึง 34 ประเภท
ซึ่งทำให้ขายได้ราคาดี/ดีต่อโรงงานรีไซเคิลในการแปรรูปได้สะดวกรวดเร็วขึ้น
แบบ Win/Win ทั้งสองฝ่ายในการกำจัดขยะ
และการขายขยะที่รีไซเคิลได้
ทั้งนี้ จะไม่มีรถยนต์เก็บขยะ
จากบ้านพักของชาวบ้านเมืองนี้
ชาวบ้านทุกคนต้องนำขยะไปยังศูนย์ขยะรีไซเคิล
คนงานที่ศูนย์รีไซเคิลจะต้องทำการตรวจสอบ
ให้มั่นใจก่อนว่า ชาวบ้านมีการคัดแยกขยะ
ตามประเภทแล้วก่อนนำมาส่งที่ศูนย์ขยะฯ
เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว
จึงหย่อนลงในถังขยะรวมเฉพาะอย่าง
เพื่อเก็บรวบรวมนำไปจำหน่ายต่อไป
เสื้อผ้าที่ใช้แล้ว เครื่องประดับต่าง ๆ
หรือข้าวของต่าง ๆ ที่ชาวบ้านบางคนไม่ใช้แล้ว
จะถูกนำมาฝากไว้ที่ศูนย์ขยะฯ
เพื่อแลกเปลี่ยนข้าวของกัน
หรือให้นำไปใช้ประโยชน์ได้ฟรีเลย
และยังมีโรงงานสตรีข้าง ๆ ศูนย์ขยะฯ
ที่ชาวเมืองนี้ทำการผลิตชุดกิโมโน
สำหรับตุ๊กตาหมี และอื่น ๆ
เรื่องเดิมที่เคยเป็นภาระหนักอกของชาวบ้าน
กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวีตประจำวัน
ของชาวบ้าน Kamikatsu ที่ต่างสังเกตขยะ
ในรูปแบบที่แตกต่างออกไป
ต่างตระหนักถึงสินค้าที่จะอุปโภคบริโภค
ว่าจะใช้อย่างไรและจะกำจัดไปได้อย่างไร
ร้านค้าแห่งหนึ่งใน Kamikatsu กล่าวว่า
ตั้งแต่ที่เริ่มมีโครงการนี้ในเมือง
การสั่งซื้อสินค้าเข้าร้าน
ก็จะเลือกแต่สินค้าที่มีกล่องบรรจุมาให้
เพื่อสามารถนำกล่องดังกล่าว
ไปใส่ข้าวของอย่างอื่นได้
ในที่สุด เมืองขนาดเล็ก
ที่มีประชากรไม่เกิน 1,700 คน
ก็สามารถกำจัดขยะด้วยการรีไซเคิลอย่างได้ผล
เพราะมีขยะตกค้างเพียง 20%
ที่ต้องนำไปกลบฝังในพื้นดิน
มักจะเป็นเศษอาหารหรือวัสดุทางการเกษตร
ที่ต้องนำมาหมักและกลบฝังสักระยะเวลาหนึ่ง
เพื่อให้กลายเป็นปุ๋ยอินทรีย์ต่อไป
ชาวบ้านหวังว่า เมืองจะไร้ขยะในปี 2020
.
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://goo.gl/BuV6rX
https://goo.gl/1jJ6Ym
https://goo.gl/Akmsig
.
สวีเดนนำเข้าขยะกว่า 700,000 ตันเพื่อรีไซเคิล
.
.
.
นิทานไร้สาระ
ธุรกิจกำจัดขยะ
.