สวัสดีค่ะ วันนี้จะมารีวิวการทิ้งขยะ และการแยกขยะในประเทศสวีเดน ในเขตที่เราอยู่นะคะ จังหวัดที่จขกท.อยู่จะอยู่ทางตอนใต้ของสวีเดน อยู่ห่างออกมาจากเมืองถ้าขับรถก็ประมาณสิบนาทีค่ะ
การแยกขยะในบ้านของหมูบ้านนี้จะแบ่งสองถังนะคะ
ถังสีดำ= ขยะพาสติกอ่อน หรือะไรก็ตามที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ และไม่นำไปรีไซเคิล
ถังสีน้ำตาล= ขยะเศษอาหาร กระดาษทิชชู่ก็สามารถทิ้งในนี้ได้ค่ะ
และเขตก็จะแจกถุงกระดาษที่ไว้ใส่เฉพาะขยะเศษอาหารอีกด้วยค่ะ
หน้าตาแบบนี้
รถเก็บขยะประจำหมู่บ้านนอกเมืองจะเป็นแบบนี้ พอถึงวันที่มาเก็บ ลูกบ้านก็เข็นรถขยะออกไปตรงหน้าบ้านของตัวเอง แลหันด้านที่มีจุดแบบนี้ออกเพื่อสะดวกแก่การเก็บค่ะ และส่วนคนที่อยู่ในเมืองมีพื้นที่ไม่มากอาจจะต้องใช้คนช่วยค่ะ
ภาพตัวอย่างการวางถังอย่างถูวิธีเพื่อสะดวกในการเก็บค่ะ
อันนี้เป็นภาพที่เราถ่ายรถเก็บจริงค่ะ
และประจำจุดในหมู่บ้านทุกๆที่จะมีจุดแยกขยะรวมอีก หมู่บ้านที่เราอยู่จะห่างไปประมาณ350เมตร ประกอบไปด้วย
ถังขวดแก้วสีขาว
ถังขวดแก้วสีขาว
ถังกระดาษหนังสือพิม หรือหนังสือแม๊กกาซีนที่แจกฟรีต่างๆ
ถังกล่องกระดาษแข็ง
ถังพาสติกแข็ง กล่องใส่ผลไม้ หรือกล่องขนมต่างๆ
ถังอลูมิเนียม
และสุดท้าย ตู้บริจาคเสื้อผ้า รองเท้า เพื่อบริจาค หรือทางบริษัทจะนำไปจำหน่ายและนำเงินไปใช้ในมูลนิธิต่างๆต่อไปค่ะ
ส่วนขวดน้ำจะสามารถนำไปแลกเงินคืนได้ตามซุปเปอร์มาเก็ตทั่วไปค่ะ เวลาซื้อน้ำขวดที่นี่ เขาจะบวกราคาขวดพาสติกไปด้วยนะคะ ขวดเล็ก 1 kr. ขวดใหญ่ 2kr. ทุกขวดที่สามารถจะแลกเงินคืนได้ต้องมีสัญลักษณ์แบบนี้ค่ะ
ตู้สำหรับนำขวดไปแลกเงิน เราจะได้เป็นใบเสร็จและสามรถใช้ซื้อของในซุปเปอร์มาเก็ตนั้นๆได้ค่ะ หรืออีกทางจะสามารถบริจาคให้การกุศลก็ได้ค่ะ
ตู้ใส่ขยะมีพิษเช่นถ่านไฟฉาย หลอดไฟ อุปกรณ่อิเล็กทรอนิคชิ้นเล็กๆ
สถานที่ทิ้งขยะขนาดใหญ่ จะมีอยู่แทบทุกอำเภอ มีเวลาเปิดปิดค่ะ
เช่นกิ่งไม้จากการทำสวน
เฟอร์นิเจอร์เก่า
เซรามิก
เศษเหล็ก
เศษหิน ดิน ทราย
การแยกขยะของประเทศสวีเดน จากประสบการณ์จริง แม่บ้านสเว่น
การแยกขยะในบ้านของหมูบ้านนี้จะแบ่งสองถังนะคะ
ถังสีดำ= ขยะพาสติกอ่อน หรือะไรก็ตามที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ และไม่นำไปรีไซเคิล
ถังสีน้ำตาล= ขยะเศษอาหาร กระดาษทิชชู่ก็สามารถทิ้งในนี้ได้ค่ะ
และเขตก็จะแจกถุงกระดาษที่ไว้ใส่เฉพาะขยะเศษอาหารอีกด้วยค่ะ
หน้าตาแบบนี้
ถังขวดแก้วสีขาว
ถังกระดาษหนังสือพิม หรือหนังสือแม๊กกาซีนที่แจกฟรีต่างๆ
ถังกล่องกระดาษแข็ง
ถังพาสติกแข็ง กล่องใส่ผลไม้ หรือกล่องขนมต่างๆ
ถังอลูมิเนียม
และสุดท้าย ตู้บริจาคเสื้อผ้า รองเท้า เพื่อบริจาค หรือทางบริษัทจะนำไปจำหน่ายและนำเงินไปใช้ในมูลนิธิต่างๆต่อไปค่ะ
ส่วนขวดน้ำจะสามารถนำไปแลกเงินคืนได้ตามซุปเปอร์มาเก็ตทั่วไปค่ะ เวลาซื้อน้ำขวดที่นี่ เขาจะบวกราคาขวดพาสติกไปด้วยนะคะ ขวดเล็ก 1 kr. ขวดใหญ่ 2kr. ทุกขวดที่สามารถจะแลกเงินคืนได้ต้องมีสัญลักษณ์แบบนี้ค่ะ
ตู้สำหรับนำขวดไปแลกเงิน เราจะได้เป็นใบเสร็จและสามรถใช้ซื้อของในซุปเปอร์มาเก็ตนั้นๆได้ค่ะ หรืออีกทางจะสามารถบริจาคให้การกุศลก็ได้ค่ะ
ตู้ใส่ขยะมีพิษเช่นถ่านไฟฉาย หลอดไฟ อุปกรณ่อิเล็กทรอนิคชิ้นเล็กๆ
สถานที่ทิ้งขยะขนาดใหญ่ จะมีอยู่แทบทุกอำเภอ มีเวลาเปิดปิดค่ะ
เช่นกิ่งไม้จากการทำสวน
เฟอร์นิเจอร์เก่า
เซรามิก
เศษเหล็ก
เศษหิน ดิน ทราย