เราคิดว่ารูปนี้ไม่น่าถอดเป็นท่อนแรกของเพลงยาวเจ้าฟ้ากุ้ง “เมื่อเวลามาบำราศให้คลาดรัก” ถ้าทำตามกลบทไทนับ ๓ อย่างที่ละคร (และนิยาย) สื่อไว้
คือยังไม่ได้เริ่มถอดก็หาไม้ม้วนไม่เจอแล้ว ไม้ม้วนในคำว่า "ให้" มาจากไหน?
เราลองกลับไปดูในนิยาย ละครก็เอามาจากนิยายเป๊ะๆ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
พอถอดตามวิธีที่เราเข้าใจ จะถอดได้ว่า
“มาอบำดลเห้าศวรรัมื่ลกคดา” ซึ่ง.... อ่านไม่ออก
(อ้างอิงวิธีถอดตามเว็บนี้
http://learnkaweethai.blogspot.co.nz/p/blog-page_15.html)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้โคลง: ไทยนับ ๓
นับครั้งละ ๓ อักษร แล้วเก็บตัวอักษรออกมาหนึ่งตัว เมื่อหมดแถวก็นับทวนต้นใหม่จนครบอักษรทุกตัวในแถว เช่น มจ้ไบงทอตนักมบเอ้สาเถ
นับครั้งที่ ๑ จะได้ตัวอักษร ไทนับสา แล้วเหลืออักษร ๒ ตัว ต้องนับรวมแล้วตั้งต้นใหม่
นับครั้งที่ ๒ จะได้ตัวอักษร มบอกแ แล้วเหลือตัวอักษร ๑ ตัว นับรวมแล้วตั้งต้นใหม่
นับครั้งที่ ๓ ได้ตัวอักษร จ้งตามอัถ ครบทุกตัวอักษร นำมาเรียงกัน
หมายเหตุ: ถ้าอักษรตัวใดมี "สระ -า"ตาม เช่น "สา" ให้นับเป็น ๑ ตัว
มจ้ไบงทอตานักมบเอ้สาเถ
ศสาถทุมอกสัดถ้นทีอทัลย
กวัใสสนสาติเร่พเสจ
ยบเงสิสส้นนาะรุสุสำอนเยทนีซาร
ถอด
ไทยนับสามบอกแจ้ง ตามอัถ
ถอดทีละสามสันทัด ทุกถ้อย
ในแกสสารสวัส ดิพจ
เสนาะสำเนียงสร้อย ซาบสิ้นสุนทร
เราก็เลยลองเข้ารหัสเอง โดยยึดวิธีจากเว็บข้างต้น เขาบอกว่าสระอา หรือ สระอะ ที่ต่อท้ายพยัญชนะให้นับไปพร้อมกับพยัญชนะนั้นๆ (แต่เราก็รู้สึกว่า ตัวอย่างบนเว็บนั้น ก็ยังมีสระกับวรรณยุกต์ขาดๆ เกินๆ เดี๋ยวจะกลับมาประเด็นนี้อีกที) เรามีตัวช่วยในการตรวจสอบนะ ไม่ได้นั่งนับเองตลอด (ดู ปล. ด้านล่าง)
เข้ารหัสตามไทนับ ๓
ให้จุดแทนตัวอักษรหนึ่งตัว ตัวอักษรแรกของประโยคที่ถอดแล้วจะอยู่อันดับ 3 เสมอ เพราะฉะนั้นเราจะเริ่มจากจุดสองจุด
. . เ . . มื่ . . อ . . เ . . ว . . ลา . . มา . . บำ . . รา . . ศ . . ใ . . ห้ . . ค . . ลา . . ด . . รั . . ก
นับจำนวนรวมจุดด้วยจะได้ 51 ส่วน ซึ่งพอแบ่งเป็น 3 บรรทัด บรรทัดละ 17 ส่วน แบบนี้
จากนั้น ก็เอาแต่ละส่วนที่เป็นตัวอักษรตามแนวตั้งมาต่อกันก็จะได้แบบนี้
"ลา ห้ เ มา ค มื่ บำ ลา อ รา ด เ ศ รั ว ใ ก"
ซึ่งพอเอามานับตามแบบไทนับ ๓ ตามที่เราเข้าใจ ก็จะได้ “เมื่อเวลามาบำราศให้คลาดรัก”
แถม: เข้ารหัสแบบไทนับ ๕ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ถ้าไทนับ ๕ ก็จะมี 4 ส่วนระหว่างตัวอักษร ร่วมเป็นทั้งหมด 85 ส่วน
. . . . เ . . . . มื่ . . . . อ. . . . . เ . . . . ว . . . . ลา . . . . มา . . . . บำ . . . . รา . . . . ศ . . . . ใ . . . . ห้ . . . . ค . . . . ลา . . . . ด . . . . รั . . . . ก
แบ่ง 5 บรรทัด บรรทัดละ 17 ส่วน
ยุบบรรทัดเหลือบรรทัดเดียว ก็จะได้
มา ลา เ ใ เ บำ ด ว ห้ มื่ รา รั ลา ค อ ศ ก
กลับไปที่ตัวอย่างบนเว็บข้างบน ตามตัวอย่างเป็นดังนี้
มจ้ไบงทอตานักมบเอ้สาเถ
ศสาถทุมอกสัดถ้นทีอทัลย
กวัใสสนสาติเร่พเสจ
ยบเงสิสส้นนาะรุสุสำอนเยทนีซาร
แต่ถ้าจะถอดให้เป๊ะตามตัวอย่าง (แต่คงให้ไม้โทอยู่ที่ ส.เสือ ในคำว่า สร้อย) มันต้องเป็น
ม จ้ ไ บ ง ท อ ตา นั ก ม บ เ อั สา เ ถ
ด สา ถ ทุ ม อ ก สั ด ถ้ น ที อ ทั ละ ย
ก วั ใ ส ส น สา ดิ เ ร พ เ ส จ
ย บ เ ง สิ้ ส ส้ น นาะ ร สุ สำ อ น เ ย ท นี ชา ร
ข้อแตกต่างคือ
บรรทัดแรก เป็นไม้หันอากาศตรง อ.อ่าง แทนไม้โท
บรรทัดที่สอง ตัวแรก ด.เด็ก และ ล.ลิง ตามด้วยสระอะ
บรรทัดที่สาม ไม่มีไม้เอกบน ร.เรือ
บรรท้ดที่สี่ มีไม้โทบน สิ และไม่มีสระอุตรง ร.เรือ
ตัวอย่างไทนับ ๕ ก็มีขาดๆ เกินๆ นิดหน่อย (ดูที่ปล.ข้างล่าง)
ในบทละครบนเว็บ True ก็เขียนเหมือนๆ กัน
http://dara.trueid.net/novel/240271/5/241186
สายตาแมงเม่ามองที่ตัวอักษรในกระดาษเขียนว่า “มจ้ไบงทอตานักมบเอ้สาเถ ศสาถทุมอกสัดถ้นทีอัลย กวัไสสนสาติเร่พเสจ ยบเงสิสส้นนาะรุสุสำอนเยทนีชาร”
เราเลยสงสัยว่า ตกลงอะไรถูกอะไรผิด
1. ท่อนแรกของเพลงยาวในละคร (และนิยาย) ตกลงเราใช้สูตรผิด หรือเราเข้าใจผิด? อยากให้เจ้าป้ามาไขข้อข้องใจจัง
2. ตัวอย่างที่มีสระและวรรณยุกต์ขาดๆ เกินๆ นี่คือจงใจ ใส่ไว้นิดๆ หน่อยๆ ให้คนถอดงง หรือว่าพวกตัวอย่างก็ลอกมาจากหนังสือจินดามณี (ที่เราก็ไม่เคยเห็น) แล้วลอกมาผิดๆ ถูกๆ
3. ดูเหมือนว่า กลบทที่อยู่ในกลัก ก็อาจจะมีตัวอักษรผิดตัวหนึ่งเหมือนกัน
https://ppantip.com/topic/37605778 [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปล. เราไม่ได้นั่งแก้ทุกอย่างเอง ตัวช่วยคือ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ถ้าใครอ่าน code ไม่เป็น ก็เลื่อนลงไปดูตัวอย่าง output ด้านล่างสุดก็พอ
#!/usr/bin/env ruby
def decode_counting_thai(consonants, count = 3)
raise 'Boo! count must be 3 or 5' unless [3, 5].include? count
size = consonants.size
current_count = count
counted = []
loop do
print consonants[current_count - 1]
counted << current_count
current_count = (current_count + count)
current_count = (current_count % size) if current_count > size
break if size == counted.size
end
puts "\n"
end
# example
[
'ม จ้ ไ บ ง ท อ ตา นั ก ม บ เ อั สา เ ถ',
'ด สา ถ ทุ ม อ ก สั ด ถ้ น ที อ ทั ละ ย',
'ก วั ใ ส ส น สา ดิ เ ร พ เ ส จ',
'ย บ เ ง สิ้ ส ส้ น นาะ ร สุ สำ อ น เ ย ท นี ชา ร'
].each { |line| decode_counting_thai line.split(' ') }
# output:
# ไทนับสามบอกเเจ้งตามอัถ
# ถอดทีละสามสันทัดทุกถ้อย
# ในเเกสสารสวัสดิพจ
# เสนาะสำเนียงส้รอยชาบสิ้นสุนทร
[
'ร ท ว้ ข อั ป ร โ บ ก ว ง ด ว ษ ร ไ ย น',
'ช เ น ล เ ว ล่ ช้ ย ป น ห์ อ ล น ชื่ ก ย',
'ทำ ว ร้ ร่ ลำ สำ ญ น อ นำ ร เ ซ น',
'ค ต ย น ลั ต ริ ยา ค บ รึ ถั ก น ฦๅ ก อ พ้ ณา'
].each { |line| decode_counting_thai line.split(' '), 5 }
# output
# อักษรปวรทรงไว้โดยขบวน
# เปนเล่ห์กลยลชวนชื่นช้อย
# ลำนำทำสำรวญเร้นซร่อน
# ลับฦๅคตรึกตริถัอยยากพ้นคนณา
# as used in lakorn
decode_counting_thai 'รั เ มา มื่ ห้า อ ล ศ บำ ก ว ด ค ร ล ดา'.split ' '
# output:
# มาอบำดลเห้าศวรรัมื่ลกคดา
# my encoded version (count 3)
decode_counting_thai 'ลา ห้ เ มา ค มื่ บำ ลา อ รา ด เ ศ รั ว ใ ก'.split ' '
# output:
# เมื่อเวลามาบำราศให้คลาดรัก
# my encoded version (count 5)
decode_counting_thai 'มา ลา เ ใ เ บำ ด ว ห้ มื่ รา รั ลา ค อ ศ ก'.split(' '), 5
# output:
# เมื่อเวลามาบำราศให้คลาดรัก
[ถามความเห็น] กลบทในละครผิดรึเปล่า และวิธีการเข้ารหัสตามสูตรไทนับ ๓ และ ๕
คือยังไม่ได้เริ่มถอดก็หาไม้ม้วนไม่เจอแล้ว ไม้ม้วนในคำว่า "ให้" มาจากไหน?
เราลองกลับไปดูในนิยาย ละครก็เอามาจากนิยายเป๊ะๆ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
พอถอดตามวิธีที่เราเข้าใจ จะถอดได้ว่า “มาอบำดลเห้าศวรรัมื่ลกคดา” ซึ่ง.... อ่านไม่ออก
(อ้างอิงวิธีถอดตามเว็บนี้ http://learnkaweethai.blogspot.co.nz/p/blog-page_15.html)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เราก็เลยลองเข้ารหัสเอง โดยยึดวิธีจากเว็บข้างต้น เขาบอกว่าสระอา หรือ สระอะ ที่ต่อท้ายพยัญชนะให้นับไปพร้อมกับพยัญชนะนั้นๆ (แต่เราก็รู้สึกว่า ตัวอย่างบนเว็บนั้น ก็ยังมีสระกับวรรณยุกต์ขาดๆ เกินๆ เดี๋ยวจะกลับมาประเด็นนี้อีกที) เรามีตัวช่วยในการตรวจสอบนะ ไม่ได้นั่งนับเองตลอด (ดู ปล. ด้านล่าง)
เข้ารหัสตามไทนับ ๓
ให้จุดแทนตัวอักษรหนึ่งตัว ตัวอักษรแรกของประโยคที่ถอดแล้วจะอยู่อันดับ 3 เสมอ เพราะฉะนั้นเราจะเริ่มจากจุดสองจุด
. . เ . . มื่ . . อ . . เ . . ว . . ลา . . มา . . บำ . . รา . . ศ . . ใ . . ห้ . . ค . . ลา . . ด . . รั . . ก
นับจำนวนรวมจุดด้วยจะได้ 51 ส่วน ซึ่งพอแบ่งเป็น 3 บรรทัด บรรทัดละ 17 ส่วน แบบนี้
จากนั้น ก็เอาแต่ละส่วนที่เป็นตัวอักษรตามแนวตั้งมาต่อกันก็จะได้แบบนี้ "ลา ห้ เ มา ค มื่ บำ ลา อ รา ด เ ศ รั ว ใ ก"
ซึ่งพอเอามานับตามแบบไทนับ ๓ ตามที่เราเข้าใจ ก็จะได้ “เมื่อเวลามาบำราศให้คลาดรัก”
แถม: เข้ารหัสแบบไทนับ ๕ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
กลับไปที่ตัวอย่างบนเว็บข้างบน ตามตัวอย่างเป็นดังนี้
มจ้ไบงทอตานักมบเอ้สาเถ
ศสาถทุมอกสัดถ้นทีอทัลย
กวัใสสนสาติเร่พเสจ
ยบเงสิสส้นนาะรุสุสำอนเยทนีซาร
แต่ถ้าจะถอดให้เป๊ะตามตัวอย่าง (แต่คงให้ไม้โทอยู่ที่ ส.เสือ ในคำว่า สร้อย) มันต้องเป็น
ม จ้ ไ บ ง ท อ ตา นั ก ม บ เ อั สา เ ถ
ด สา ถ ทุ ม อ ก สั ด ถ้ น ที อ ทั ละ ย
ก วั ใ ส ส น สา ดิ เ ร พ เ ส จ
ย บ เ ง สิ้ ส ส้ น นาะ ร สุ สำ อ น เ ย ท นี ชา ร
ข้อแตกต่างคือ
บรรทัดแรก เป็นไม้หันอากาศตรง อ.อ่าง แทนไม้โท
บรรทัดที่สอง ตัวแรก ด.เด็ก และ ล.ลิง ตามด้วยสระอะ
บรรทัดที่สาม ไม่มีไม้เอกบน ร.เรือ
บรรท้ดที่สี่ มีไม้โทบน สิ และไม่มีสระอุตรง ร.เรือ
ตัวอย่างไทนับ ๕ ก็มีขาดๆ เกินๆ นิดหน่อย (ดูที่ปล.ข้างล่าง)
ในบทละครบนเว็บ True ก็เขียนเหมือนๆ กัน http://dara.trueid.net/novel/240271/5/241186
เราเลยสงสัยว่า ตกลงอะไรถูกอะไรผิด
1. ท่อนแรกของเพลงยาวในละคร (และนิยาย) ตกลงเราใช้สูตรผิด หรือเราเข้าใจผิด? อยากให้เจ้าป้ามาไขข้อข้องใจจัง
2. ตัวอย่างที่มีสระและวรรณยุกต์ขาดๆ เกินๆ นี่คือจงใจ ใส่ไว้นิดๆ หน่อยๆ ให้คนถอดงง หรือว่าพวกตัวอย่างก็ลอกมาจากหนังสือจินดามณี (ที่เราก็ไม่เคยเห็น) แล้วลอกมาผิดๆ ถูกๆ
3. ดูเหมือนว่า กลบทที่อยู่ในกลัก ก็อาจจะมีตัวอักษรผิดตัวหนึ่งเหมือนกัน https://ppantip.com/topic/37605778 [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปล. เราไม่ได้นั่งแก้ทุกอย่างเอง ตัวช่วยคือ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้