คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
เอกสารอธิบายจากรมเขื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ครับ
http://www.dmf.go.th/file/QA_EPThai.pdf
10. หากสํารวจพบปิโตรเลียมจะต้องเวนคืนที่ดินหรือไม่
คําตอบ
การขอใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการประกอบกิจการปิโตรเลียม ในกรณีที่เป็นที่ดินของ
หน่วยงานราชการ ที่ดินสาธารณะ หรือพื้นที่ป่าไม้ต้องขออนุญาตใช้พื้นที่ตามระเบียบของ
หน่วยงาน/หน่วยราชการเจ้าของพื้นที่ หากเป็นพื้นที่ของเอกชนต้องมีการเจรจาขอใช้ที่ดิน ซึ่งอาจ
เป็นการเช่าหรือซื้อขาย ตามความตกลงกัน สําหรับพื้นที่ฐานเจาะจะมีขนาดเล็กประมาณ 10-15
ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของแท่นเจาะ
ในกรณีที่สํารวจพบปิโตรเลียมมีปริมาณเชิงพาณิชย์ ผู้รับสัมปทานจะต้องขออนุมัติกําหนด
ขอบเขตพื้นที่ผลิตปิโตรเลียมจากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติและจัดทํารายงานการศึกษาวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสําหรับโครงการผลิตปิโตรเลียมดังกล่าว นําเสนอต่อสํานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนที่จะเริ่มการผลติ
การผลิตปิโตรเลียมจากแหล่งบนบกโดยทั่วไป อาจใช้หลุมเจาะสํารวจที่พบปิโตรเลียมเป็นหลุมผลิต
และหากต้องการเจาะหลุมผลิตเพิ่มเติม จะใช้พื้นที่ฐานเจาะที่มีอยู่เดิมได้ ดังนั้น การผลิต
ปิโตรเลียมจะใช้พื้นที่บนผิวดินในบริเวณจํากัด ไม่มีการเวนคืนที่ดินของประชาชนรอบพื้นที่
โครงการ แต่จะต้องขออนุญาต หรือเจรจาทําความตกลงการใช้ที่ดินกับเจ้าของที่ดิน จนได้ข้อยุติซึ่ง
เป็นที่พอใจของทั้ง 2 ฝ่ายเสียก่อน
11. เจ้าของที่ดินที่สํารวจพบปิโตรเลียมจะได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง
คําตอบ
ระบบบริหารจัดการปิโตรเลียมของประเทศไทยเป็นระบบสัมปทานปิโตรเลียม กฎหมายว่า
ด้วยปิโตรเลียมกําหนดว่า “ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ ผู้ใดจะสํารวจหรือผลิตปิโตรเลียมในที่ใด ไม่ว่าที่
นั้น เป็นของตนเองหรือของบุคคลอื่นต้องได้รับสัมปทาน การขอสัมปทานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง” ซึ่งกระทรวงพลังงานกําหนด โดยในทางเดียวกัน
สินแร่(เช่น ทองคํา ดีบุก)อื่นๆที่มีการให้สัมปทานนั้น สินแร่ทั้งหมดก็เป็นของรัฐเช่นกัน
ระบบสัมปทานปิโตรเลียมเป็นการให้สิทธิประโยชน์ ในการสํารวจและผลิตปิโตรเลียมของ
รัฐให้แก่บริษัทเอกชนซึ่งเป็นผู้สนใจมาลงทุนในพื้นที่ที่ได้รับสัมปทานนั้นแต่เพียงผู้เดียว โดยผู้
ประสงค์จะได้รับสิทธิสํารวจและผลิตปิโตรเลียม ต้องยื่นขอสัมปทานปิโตรเลียมภายใต้หลักเกณฑ์
ที่กําหนดภายใต้พระราชบัญญัติปิโตรเลียมและกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และต้องมีคุณสมบัติของผู้
ขอรับสัมปทานและปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ในการขอสัมปทานปิโตรเลียมตามที่กําหนดใน
ประกาศเชิญชวนให้ยื่นขอสัมปทาน และการให้สัมปทานปิโตรเลียมเป็นอํานาจของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงพลังงานโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี
การขอใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการประกอบกิจการปิโตรเลียม ในกรณีที่เป็นที่ดินของ
หน่วยงานราชการ ที่ดินสาธารณะ หรือพื้นที่ป่าไม้ต้องขออนุญาตใช้พื้นที่ตามระเบียบของ
หน่วยงาน/หน่วยราชการเจ้าของพื้นที่ หากเป็นพื้นที่ของเอกชนต้องมีการเจรจาขอใช้ที่ดิน ซึ่งอาจ
เป็นการเช่าหรือซื้อขายตามความตกลงกัน
http://www.dmf.go.th/file/QA_EPThai.pdf
10. หากสํารวจพบปิโตรเลียมจะต้องเวนคืนที่ดินหรือไม่
คําตอบ
การขอใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการประกอบกิจการปิโตรเลียม ในกรณีที่เป็นที่ดินของ
หน่วยงานราชการ ที่ดินสาธารณะ หรือพื้นที่ป่าไม้ต้องขออนุญาตใช้พื้นที่ตามระเบียบของ
หน่วยงาน/หน่วยราชการเจ้าของพื้นที่ หากเป็นพื้นที่ของเอกชนต้องมีการเจรจาขอใช้ที่ดิน ซึ่งอาจ
เป็นการเช่าหรือซื้อขาย ตามความตกลงกัน สําหรับพื้นที่ฐานเจาะจะมีขนาดเล็กประมาณ 10-15
ไร่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของแท่นเจาะ
ในกรณีที่สํารวจพบปิโตรเลียมมีปริมาณเชิงพาณิชย์ ผู้รับสัมปทานจะต้องขออนุมัติกําหนด
ขอบเขตพื้นที่ผลิตปิโตรเลียมจากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติและจัดทํารายงานการศึกษาวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสําหรับโครงการผลิตปิโตรเลียมดังกล่าว นําเสนอต่อสํานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนที่จะเริ่มการผลติ
การผลิตปิโตรเลียมจากแหล่งบนบกโดยทั่วไป อาจใช้หลุมเจาะสํารวจที่พบปิโตรเลียมเป็นหลุมผลิต
และหากต้องการเจาะหลุมผลิตเพิ่มเติม จะใช้พื้นที่ฐานเจาะที่มีอยู่เดิมได้ ดังนั้น การผลิต
ปิโตรเลียมจะใช้พื้นที่บนผิวดินในบริเวณจํากัด ไม่มีการเวนคืนที่ดินของประชาชนรอบพื้นที่
โครงการ แต่จะต้องขออนุญาต หรือเจรจาทําความตกลงการใช้ที่ดินกับเจ้าของที่ดิน จนได้ข้อยุติซึ่ง
เป็นที่พอใจของทั้ง 2 ฝ่ายเสียก่อน
11. เจ้าของที่ดินที่สํารวจพบปิโตรเลียมจะได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง
คําตอบ
ระบบบริหารจัดการปิโตรเลียมของประเทศไทยเป็นระบบสัมปทานปิโตรเลียม กฎหมายว่า
ด้วยปิโตรเลียมกําหนดว่า “ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ ผู้ใดจะสํารวจหรือผลิตปิโตรเลียมในที่ใด ไม่ว่าที่
นั้น เป็นของตนเองหรือของบุคคลอื่นต้องได้รับสัมปทาน การขอสัมปทานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง” ซึ่งกระทรวงพลังงานกําหนด โดยในทางเดียวกัน
สินแร่(เช่น ทองคํา ดีบุก)อื่นๆที่มีการให้สัมปทานนั้น สินแร่ทั้งหมดก็เป็นของรัฐเช่นกัน
ระบบสัมปทานปิโตรเลียมเป็นการให้สิทธิประโยชน์ ในการสํารวจและผลิตปิโตรเลียมของ
รัฐให้แก่บริษัทเอกชนซึ่งเป็นผู้สนใจมาลงทุนในพื้นที่ที่ได้รับสัมปทานนั้นแต่เพียงผู้เดียว โดยผู้
ประสงค์จะได้รับสิทธิสํารวจและผลิตปิโตรเลียม ต้องยื่นขอสัมปทานปิโตรเลียมภายใต้หลักเกณฑ์
ที่กําหนดภายใต้พระราชบัญญัติปิโตรเลียมและกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และต้องมีคุณสมบัติของผู้
ขอรับสัมปทานและปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ในการขอสัมปทานปิโตรเลียมตามที่กําหนดใน
ประกาศเชิญชวนให้ยื่นขอสัมปทาน และการให้สัมปทานปิโตรเลียมเป็นอํานาจของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงพลังงานโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี
การขอใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการประกอบกิจการปิโตรเลียม ในกรณีที่เป็นที่ดินของ
หน่วยงานราชการ ที่ดินสาธารณะ หรือพื้นที่ป่าไม้ต้องขออนุญาตใช้พื้นที่ตามระเบียบของ
หน่วยงาน/หน่วยราชการเจ้าของพื้นที่ หากเป็นพื้นที่ของเอกชนต้องมีการเจรจาขอใช้ที่ดิน ซึ่งอาจ
เป็นการเช่าหรือซื้อขายตามความตกลงกัน
แสดงความคิดเห็น
ถ้าคุณเจอบ่อน้ำมัน+แก๊สปิโตรเลียม
วันหนึ่งที่คุณขุดดินกำลังจะปลูก ต้นจันทร์หอมอินเดีย
http://m.tnews.co.th/contents/211838
ด้วยความเหตุบังเอิญหรืออะไรมิทราบได้ คุณขุดไปปุ๊บ น้ำมันดิบก็พุ่งพรวดขึ้นมาในทันใด
ที่นี้คุณก็เอาเรื่องนี้ไปแจ้งนักธรณีวิทยา เขาก็มาสำรวจพบว่าไม่ได้มีแค่น้ำมันในที่ของคุณเท่านั้นแต่ยังมี ก๊าซธรรมชาติอีกด้วย
http://v-reform.org/v-report/thai-petroleum-financial-report/
แน่นอนเหล่านายทุนก็สนใจลงทุนในที่ของคุณด้วยผลประโยชน์ที่ลงตัวแล้วคุณก็ได้เงินมาอย่างสบายๆ
คำถาม
ถ้าคุณได้เงินมาแล้วคุณจะเอาไปทำอะไรในชีวิตของคุณ