Research Standards: SEM จาก Fast Forward Statistics ตอน 1... 30/4/2561
https://ppantip.com/topic/37616352/comment2
ขอนำมาลงครับ ปกติผมมีแต่ที่เป็นภาษาอังกฤษและงานวิจัย คิดว่าคงไม่มีคนอ่าน ข้างล่างเป็นภาษาไทยและมีอ้างอิง
Fast Forward Statistics
April 20 at 3:16pm ·
ว่าด้วย - มาตรฐานการเขียนบทความวิจัยจาก APA สำหรับงานวิจัยที่ใช้ Structural Equation Modeling (SEM) ตอนที่ 1
.
https://www.facebook.com/FastForwardStat/posts/161377304533281:0
ประกอบด้วย Title, Abstract, Introduction, Method
.
.
ต้องขอบคุณนักวิชาการชาวไทยที่ไม่ประสงค์ออกนามจากแดนไกล (ให้ credit ทั้งหมดครับ) อีกครั้ง ที่ได้ส่ง Paper จาก American Psychologist ให้ได้แบ่งปันกัน ครั้งนี้เป็นมาตรฐานสำหรับ Paper ที่ใช้ SEM ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ลองดูว่านักวิจัยควรจะต้องรายงานอะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับงานวิจัยที่ใช้เครื่องมือนี้ครับ
.
โดยเป็นมาตรฐานการเขียนบทความวิจัยเพิ่มเติมจากแบบเบื้องต้นของการวิขัยเชิงปริมาณ ตามที่ได้เขียนไปก่อนเบื้องต้นนี้ หมายความว่าที่เคยรายงานไปก็ต้องมีก่อนสำหรับทั่วไป และเพิ่มเติมในส่วนนี้ (ที่ควรจะต้องมีถ้ามีการใช้ SEM ในการวิเคราะห์)
..
1. Title
ระบุเพียงกลไกหลัก (Basic Mechanism) ของโมเดลวิจัยที่สอดคล้อง (Fit) กับข้อมูล สาเหตุที่ต้องระบุใน Title เพียงกลไกหลักเนื่องจากการวิเคราะห์ด้วย Multivariate ที่ใช้ SEM มีโอกาสน้อยที่ความสัมพันธ์จะเป็นไปตามที่ตั้งไว้
..
2. Abstract
ต้องรายงานอย่างน้อยค่าความสอดคล้อง (Global Fit Statistics) 2 ค่า จากกลุ่มที่แตกต่างกัน (ค่า Fit Statistics) ที่แบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม รวมถึงต้องมีการระบุในเบื้องต้นของ Fit Statistics ที่เป็นค่า Residual หรือที่เรียกว่า Local Fit Statistics อีกทั้งมีการแปลความหมายความสัมพันธ์ในโมเดลตั้งต้น (Originally specified model) ด้วย หมายถึงโมเดลที่เป็น Hypothesized Model
..
3. Introduction
a) อธิบายโมเดลหลัก (Primary model) ที่สอดคล้องกับข้อมูล พร้อมทั้งระบุและอธิบายจากทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างโมเดลและอภิปรายผลจากงานวิจัยเชิงประจักษ์อื่นๆ ที่สนับสนุนโมเดลหลัก
.
b) ระบุเส้นทางความสัมพันธ์หลักที่สำคัญที่มีในโมเดล จากโมเดลที่สอดคล้อง (Fit) กับข้อมูล มีการพิจารณา Assumption และอธิบายความสัมพันธ์ในลักษณะของทิศทาง เช่น X ส่งผลต่อ Y แทนที่จะเป็น Y ส่งผลต่อ X ทำแบบนี้เช่นเดียวกันกับความสัมพันธ์อื่นๆ ในโมเดล
.
c) ระบุว่ามีการ Re-specification หรือไม่ ถ้าโมเดลหลักไม่สอดคล้องกับข้อมูล
..
4) Method
a) มีการระบุว่าข้อมูลเก็บจากกลุ่มตัวอย่างหรือนำข้อมูลมาจาก Computer Simulation
.
b) รายงานว่า Indicator ที่ใช้ในการวัด Latent Constructs ว่ามาจากแบบสอบถามชุดเดียวกันหรือนำ Indicators มาจากหลายแหล่งหรือชุดแบบสอบถาม
.
c) อธิบายตัววัดที่มาจากแบบสอบถามว่าตัววัดเหล่านั้นมาจาก Item แต่ละอัน หรือเป็นการคำนวนค่าแบบ Total Scores จากหลายๆ ตัววัด โดยการใช้ Item Parceling (ถ้ามีการใช้ Parceling มีการรวมตัววัดด้วยวิธีใด ทำอย่างไร พร้อมทั้งอธิบายสมบัติของการวัด (Psychometrics) ของตัวแปรและ ตัววัดเป็น Scale แบบใด
.
d) รายงานจำนวนของตัวอย่างที่เจาะจง มีการพิจารณาอย่างไร เช่น ใช้ Rule of Thumb หรือ ข้อจำกัดในการเก็บตัวอย่าง (Resource Constraints) หรือ ผลของ Power Analysis ที่กำหนดในเบื้องต้นและความเที่ยงตรงของการประมาณค่า อย่างไร
.
e) สำหรับ Power Analysis สำหรับการวิเคราะ์ ต้องระบุ
+ ระดับของ Power ที่ตั้งใจเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์
+ การทดสอบสมมุติฐานทั้ง Null และ Alternative Hypotheses
+ ระดับของนัยสำคัญ
+ Fit Statistics ในการวิเคราะห์
+ ค่า Effect Size ของจำนวนประชาการที่คาดหวังสำหรับการวิเคราะห์
.
f) รายงาน Algorithm ของ Software ที่ใช้ในการวิเคราะห์ โดยเฉพาะเมื่อมาจากข้อมูลที่ Generate มาจาก Simulation ในส่วนของขนาดของจำนวนข้อมูล รวมถึงชี้แจงว่ามีข้อมูลที่ไม่ได้นำมาด้วยหรือไม่ ที่อาจเกิดจาก nonconvergence เป็นต้น
..
วันนี้แค่นี้ก่อน วันจันทร์จะมาเพิ่มเติมสำหรับมาตรฐานในการรายงานวิจัยของงานวิจัยที่ใช้ Structural Equation Modeling (SEM) ต่อกันอีก
.
พบกันวันจันทร์ครับ
รูป(ตาราง)/แปลจาก:
Appelbaum, M., Cooper, H., Kline, R. B., Mayo-Wilson, E., Nezu, A. M., & Rao, S. M. (2018). Journal article reporting standards for quantitative research in psychology: The APA Publications and Communications Board task force report. American Psychologist, 73(1), 3.
Research Standards: SEM จาก Fast Forward Statistics ตอน 1... 30/4/2561 สรายุทธ กันหลง
Research Standards: SEM จาก Fast Forward Statistics ตอน 1... 30/4/2561
https://ppantip.com/topic/37616352/comment2
ขอนำมาลงครับ ปกติผมมีแต่ที่เป็นภาษาอังกฤษและงานวิจัย คิดว่าคงไม่มีคนอ่าน ข้างล่างเป็นภาษาไทยและมีอ้างอิง
Fast Forward Statistics
April 20 at 3:16pm ·
ว่าด้วย - มาตรฐานการเขียนบทความวิจัยจาก APA สำหรับงานวิจัยที่ใช้ Structural Equation Modeling (SEM) ตอนที่ 1
.
https://www.facebook.com/FastForwardStat/posts/161377304533281:0
ประกอบด้วย Title, Abstract, Introduction, Method
.
.
ต้องขอบคุณนักวิชาการชาวไทยที่ไม่ประสงค์ออกนามจากแดนไกล (ให้ credit ทั้งหมดครับ) อีกครั้ง ที่ได้ส่ง Paper จาก American Psychologist ให้ได้แบ่งปันกัน ครั้งนี้เป็นมาตรฐานสำหรับ Paper ที่ใช้ SEM ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ลองดูว่านักวิจัยควรจะต้องรายงานอะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับงานวิจัยที่ใช้เครื่องมือนี้ครับ
.
โดยเป็นมาตรฐานการเขียนบทความวิจัยเพิ่มเติมจากแบบเบื้องต้นของการวิขัยเชิงปริมาณ ตามที่ได้เขียนไปก่อนเบื้องต้นนี้ หมายความว่าที่เคยรายงานไปก็ต้องมีก่อนสำหรับทั่วไป และเพิ่มเติมในส่วนนี้ (ที่ควรจะต้องมีถ้ามีการใช้ SEM ในการวิเคราะห์)
..
1. Title
ระบุเพียงกลไกหลัก (Basic Mechanism) ของโมเดลวิจัยที่สอดคล้อง (Fit) กับข้อมูล สาเหตุที่ต้องระบุใน Title เพียงกลไกหลักเนื่องจากการวิเคราะห์ด้วย Multivariate ที่ใช้ SEM มีโอกาสน้อยที่ความสัมพันธ์จะเป็นไปตามที่ตั้งไว้
..
2. Abstract
ต้องรายงานอย่างน้อยค่าความสอดคล้อง (Global Fit Statistics) 2 ค่า จากกลุ่มที่แตกต่างกัน (ค่า Fit Statistics) ที่แบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม รวมถึงต้องมีการระบุในเบื้องต้นของ Fit Statistics ที่เป็นค่า Residual หรือที่เรียกว่า Local Fit Statistics อีกทั้งมีการแปลความหมายความสัมพันธ์ในโมเดลตั้งต้น (Originally specified model) ด้วย หมายถึงโมเดลที่เป็น Hypothesized Model
..
3. Introduction
a) อธิบายโมเดลหลัก (Primary model) ที่สอดคล้องกับข้อมูล พร้อมทั้งระบุและอธิบายจากทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างโมเดลและอภิปรายผลจากงานวิจัยเชิงประจักษ์อื่นๆ ที่สนับสนุนโมเดลหลัก
.
b) ระบุเส้นทางความสัมพันธ์หลักที่สำคัญที่มีในโมเดล จากโมเดลที่สอดคล้อง (Fit) กับข้อมูล มีการพิจารณา Assumption และอธิบายความสัมพันธ์ในลักษณะของทิศทาง เช่น X ส่งผลต่อ Y แทนที่จะเป็น Y ส่งผลต่อ X ทำแบบนี้เช่นเดียวกันกับความสัมพันธ์อื่นๆ ในโมเดล
.
c) ระบุว่ามีการ Re-specification หรือไม่ ถ้าโมเดลหลักไม่สอดคล้องกับข้อมูล
..
4) Method
a) มีการระบุว่าข้อมูลเก็บจากกลุ่มตัวอย่างหรือนำข้อมูลมาจาก Computer Simulation
.
b) รายงานว่า Indicator ที่ใช้ในการวัด Latent Constructs ว่ามาจากแบบสอบถามชุดเดียวกันหรือนำ Indicators มาจากหลายแหล่งหรือชุดแบบสอบถาม
.
c) อธิบายตัววัดที่มาจากแบบสอบถามว่าตัววัดเหล่านั้นมาจาก Item แต่ละอัน หรือเป็นการคำนวนค่าแบบ Total Scores จากหลายๆ ตัววัด โดยการใช้ Item Parceling (ถ้ามีการใช้ Parceling มีการรวมตัววัดด้วยวิธีใด ทำอย่างไร พร้อมทั้งอธิบายสมบัติของการวัด (Psychometrics) ของตัวแปรและ ตัววัดเป็น Scale แบบใด
.
d) รายงานจำนวนของตัวอย่างที่เจาะจง มีการพิจารณาอย่างไร เช่น ใช้ Rule of Thumb หรือ ข้อจำกัดในการเก็บตัวอย่าง (Resource Constraints) หรือ ผลของ Power Analysis ที่กำหนดในเบื้องต้นและความเที่ยงตรงของการประมาณค่า อย่างไร
.
e) สำหรับ Power Analysis สำหรับการวิเคราะ์ ต้องระบุ
+ ระดับของ Power ที่ตั้งใจเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์
+ การทดสอบสมมุติฐานทั้ง Null และ Alternative Hypotheses
+ ระดับของนัยสำคัญ
+ Fit Statistics ในการวิเคราะห์
+ ค่า Effect Size ของจำนวนประชาการที่คาดหวังสำหรับการวิเคราะห์
.
f) รายงาน Algorithm ของ Software ที่ใช้ในการวิเคราะห์ โดยเฉพาะเมื่อมาจากข้อมูลที่ Generate มาจาก Simulation ในส่วนของขนาดของจำนวนข้อมูล รวมถึงชี้แจงว่ามีข้อมูลที่ไม่ได้นำมาด้วยหรือไม่ ที่อาจเกิดจาก nonconvergence เป็นต้น
..
วันนี้แค่นี้ก่อน วันจันทร์จะมาเพิ่มเติมสำหรับมาตรฐานในการรายงานวิจัยของงานวิจัยที่ใช้ Structural Equation Modeling (SEM) ต่อกันอีก
.
พบกันวันจันทร์ครับ
รูป(ตาราง)/แปลจาก:
Appelbaum, M., Cooper, H., Kline, R. B., Mayo-Wilson, E., Nezu, A. M., & Rao, S. M. (2018). Journal article reporting standards for quantitative research in psychology: The APA Publications and Communications Board task force report. American Psychologist, 73(1), 3.