อยากทราบว่าถ้าแม่ถูกกำจัดออกจากมรดก แต่มีลูกที่จะสามารถสืบมรดกแทนที่ แต่ปัญหาคือ
1. เจ้ามรดกมีลูกชายแต่ลูกตายก่อน แต่ลูกชายมีบุตร 2 คน แล้วบุตรทั้ง 2 คนเข้ามารับมรดกแทนที่พ่อหลังจากเจ้ามรดกเสียชีวิต สมมติคือ ก. กับ ข.
2. ก. ทำผิดต่อ ข. จึงถูกศาลสั่งกำจัดออกจากมรดก (ก. และ ข. คือหลาน)
3. ก. มีลูกสาว แต่เด็กเกิดหลังจากเจ้ามรดกตาย โดยที่ ก. จะให้ลูกสาวมาสืบมรดกแทนตนเอง ตาม ม.1607 (ที่ระบุว่า มาตรา 1607 การถูกกำจัดมิให้รับมรดกนั้นเป็นการเฉพาะตัว ผู้สืบสันดานของทายาทที่ถูกกำจัดสืบมรดกต่อไปเหมือนหนึ่งว่าทายาทนั้นตายแล้ว แต่ในส่วนทรัพย์สินซึ่งผู้สืบสันดานได้รับมรดกมาเช่นนี้ ทายาทที่ว่านั้นไม่มีสิทธิที่จะจัดการและใช้ดังที่ระบุไว้ในบรรพ 5 ลักษณะ 2 หมวด 3 แห่งประมวลกฎหมายนี้ ในกรณีเช่นนั้นให้ใช้มาตรา 1548 บังคับโดยอนุโลม)
4. ซึ่งลูกของ ก. อยู่ในฐานะผู้สืบมรดก ไม่ใช่ทายาทตาม ม.1604
5. ลูกของก. ที่เกิดหลังจากเจ้ามรดกตาย (เหลนของเจ้ามรดก) แต่เกิดก่อนที่จะมีคำสั่งกำจัด ก. ออกจากมรดก ซึ่งสิทธิ์ของเด็กพึ่งเกิดตาม ม.1607 หลังจาก ก. ถูกกำจัดออกจากมรดก ถือว่าเป็นผู้สืบสันดานหรือไม่ และ มีสิทธิสืบมรดกตาม ม.1607 ไหม
ถ้างง จะขอสรุปงาย ๆ ว่า
ถ้าผู้สืบสันดารตามม. 1607 เกิดหลังจากเจ้ามรดกตาย แต่เกิดก่อนที่แม่จะถูกกำจัดออกจากมรดก เด็กคนนี้จะสามารถสืบมรดกต่อได้หรือไม่ ขอบคุณค่ะ
พยายามหาฎีกาแล้ว ส่วนมากมีแต่ทายาทโดนกำจัด แต่มีผู้ผู้สืบสันดาน ผู้สืบสันดานจึงได้รับมรดกแทนที่ แต่หาไม่เจอว่าถ้าผู้สืบสันดานเกิดทีหลังเจ้ามรดกตาย จะสามารถสืบมรดกต่อได้ไหม ซึ่งในขณะที่เด็เกิด แม่ของเด็กยังไม่ถูกพิพากษาให้ถูกกำจัดออกจากมรดก ขอบคุณค่ะ
ปล. แล้วพอมีใครเคยเห็นฏีกาเเนวนี้ไหมคะ
ขอปรึกษาคดีสืบมรดกค่ะ ม.1607 ค่ะ
1. เจ้ามรดกมีลูกชายแต่ลูกตายก่อน แต่ลูกชายมีบุตร 2 คน แล้วบุตรทั้ง 2 คนเข้ามารับมรดกแทนที่พ่อหลังจากเจ้ามรดกเสียชีวิต สมมติคือ ก. กับ ข.
2. ก. ทำผิดต่อ ข. จึงถูกศาลสั่งกำจัดออกจากมรดก (ก. และ ข. คือหลาน)
3. ก. มีลูกสาว แต่เด็กเกิดหลังจากเจ้ามรดกตาย โดยที่ ก. จะให้ลูกสาวมาสืบมรดกแทนตนเอง ตาม ม.1607 (ที่ระบุว่า มาตรา 1607 การถูกกำจัดมิให้รับมรดกนั้นเป็นการเฉพาะตัว ผู้สืบสันดานของทายาทที่ถูกกำจัดสืบมรดกต่อไปเหมือนหนึ่งว่าทายาทนั้นตายแล้ว แต่ในส่วนทรัพย์สินซึ่งผู้สืบสันดานได้รับมรดกมาเช่นนี้ ทายาทที่ว่านั้นไม่มีสิทธิที่จะจัดการและใช้ดังที่ระบุไว้ในบรรพ 5 ลักษณะ 2 หมวด 3 แห่งประมวลกฎหมายนี้ ในกรณีเช่นนั้นให้ใช้มาตรา 1548 บังคับโดยอนุโลม)
4. ซึ่งลูกของ ก. อยู่ในฐานะผู้สืบมรดก ไม่ใช่ทายาทตาม ม.1604
5. ลูกของก. ที่เกิดหลังจากเจ้ามรดกตาย (เหลนของเจ้ามรดก) แต่เกิดก่อนที่จะมีคำสั่งกำจัด ก. ออกจากมรดก ซึ่งสิทธิ์ของเด็กพึ่งเกิดตาม ม.1607 หลังจาก ก. ถูกกำจัดออกจากมรดก ถือว่าเป็นผู้สืบสันดานหรือไม่ และ มีสิทธิสืบมรดกตาม ม.1607 ไหม
ถ้างง จะขอสรุปงาย ๆ ว่า
ถ้าผู้สืบสันดารตามม. 1607 เกิดหลังจากเจ้ามรดกตาย แต่เกิดก่อนที่แม่จะถูกกำจัดออกจากมรดก เด็กคนนี้จะสามารถสืบมรดกต่อได้หรือไม่ ขอบคุณค่ะ
พยายามหาฎีกาแล้ว ส่วนมากมีแต่ทายาทโดนกำจัด แต่มีผู้ผู้สืบสันดาน ผู้สืบสันดานจึงได้รับมรดกแทนที่ แต่หาไม่เจอว่าถ้าผู้สืบสันดานเกิดทีหลังเจ้ามรดกตาย จะสามารถสืบมรดกต่อได้ไหม ซึ่งในขณะที่เด็เกิด แม่ของเด็กยังไม่ถูกพิพากษาให้ถูกกำจัดออกจากมรดก ขอบคุณค่ะ
ปล. แล้วพอมีใครเคยเห็นฏีกาเเนวนี้ไหมคะ