วันนี้เราอยู่ในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเยอะมาก แต่หลายคนไม่รู้ว่ากำลังเกิดการเปลี่ยนแปลง
New Normal เป็นคนธรรมดาที่มันไม่ธรรมดา ในสมัยก่อน เราจะเห็นได้ว่า ประเทศไทย และคนไทยมีความสุขกับเศรษฐกิจต่างๆในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาจากตั้งแต่ยุคเบบี้บูม (Baby Boomer) เรามีคนที่เยอะมาก แต่วันนี้ เราอยู่ในยุคที่เราเปลี่ยนจากการที่ทำมากได้น้อย มาเป็นยุคที่เราเจอความท้าทายในแง่ของการที่เราต้องทำน้อยได้มาก หมายถึงว่า ในภาคของเกษตรกรรม เกษตรกรก็น้อยลงไป อายุเฉลี่ยตอนนี้ประมาณที่อายุ 60 ปีละ แถมแรงงานตรงภาคส่วนนี้ก็ไม่พอแล้ว ในส่วนของแรงงานภาคอุตสาหกรรมเอง ก็ต้องนำเข้าแรงงานต่างประเทศเข้ามาเยอะแยะไปหมด เพราะว่าคนไทยไม่นิยมทำกัน ซึ่งเราจะเห็นตัวอย่างได้แถวทางจังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพราะฉะนั้นการใช้ Co-Creation Platform มาช่วยปรับเปลี่ยนจากทำมากได้น้อยไปทำน้อยได้มาก
เรื่องที่สองก็คือเรื่องเทคโนโลยี เราอยู่ในยุคที่เรากำลังพูดถึงเรื่องของข้อมูล AI และ Robotic เราอยู่ในยุคที่ทุกคนกำลังเริ่มต้นพร้อมกันใหม่แทบจะทั้งหมด ซึ่งเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมในอดีต เป็นสิ่งที่ประเทศในแถบยุโรป และประเทศอเมริกาทำมาก่อนแล้ว
แต่ ในยุคนี้เป็นโอกาสที่เรากำลังอยู่ในช่วงที่เราเริ่มพร้อมๆ กันในภูมิภาคนี้ เพราะฉะนั้นก็เป็นอีกอันที่เราจะสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้
Business Model สมัยก่อน เรามักจะบอกว่าธุรกิจใหญ่ได้เปรียบ ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ทุกธุรกิจพยายามที่จะผันตัวให้เป็นบริษัทขนาดใหญ่
แต่ ในยุคนี้มันไม่ใช่แล้ว เพราะเป็นยุคของปลาเร็วกินปลาช้า ดูอย่าง StartUP หากนำไปเปรียบเทียบกับธุรกิจ หรือองค์ที่มีขนาดใหญ่ การจะขยับหมุนแต่ละทีเหมือนกับการขยับเรือ จะต้องพยายามที่จะหมุนพังงาเรือเป็น 10 รอบ เรือถึงจะสามารถหันหัวไปได้
เพราะฉะนั้นในมุมของ Co-Creation Platform ของธุรกิจขนาดใหญ่ ก็คือ ต้องทำยังไงถึงจะให้เกิด Win - Win Situation
ในอดีต ประเทศไทย และคนส่วนใหญ่ก็มีความสุขกับยุคที่ทำ Economy of scale - Mass Production เพราะอะไร ???
- เพราะ Demand เยอะ Supply ทำไม่ทัน แต่ปัจจุบันแล้ว ในภาษาของ StartUP เราจะเรียกว่า Long Tail (ธุรกิจหางยาว) เราอยู่ในยุคที่ว่า ซัพพลาย หรือตัวเลือกในตลาดมีเยอะไปหมดแล้ว แต่เรายังชินกับการทำ Mass Production เรายังทำวัตถุดิบที่เป็น Raw materials เพราะเราทำเป็นแต่แบบนี้ พอทำเสร็จปุ๊บ ปรากฎว่าความต้องการไม่ได้เป็นเหมือนในสมัยก่อน ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป คนมีตัวเลือกในสินค้าชนิดเดียวกันเยอะขึ้น ก็จะเข้าสู่โหมดที่เรียกว่า Individualization อยากได้อะไรที่ตรงกับความต้องการจริงๆ ธุรกิจขนาดใหญ่ก็ต้องปรับตัว StartUp เองก็ต้องหา Niche Market ให้เจอ หา Business Model ใหม่ๆ
สุดท้ายที่ Life Style เราจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เรากำลังเข้าสู่ชุมชนเมือง (Urbanization) บางทีเราก็อยากจะใช้ชีวิตแบบเดิมแต่ก็ทำไม่ได้ เพราะจะถูกกดดันให้เปลี่ยนวิถีชีวิตในที่สุด
Co-Creation Platform คำนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในยุคนี้
สมัยก่อน
บริษัทก็ถือว่าเป็นแพลตฟอร์มหนึ่ง ในการที่จะดึงคนเก่งๆ เข้ามาอยู่ในบริษัท เข้ามาอยู่ในองค์กร สมัยก่อนเวลาเจอคนเก่ง เราก็จะไปซื้อตัวมา ก็มาอยู่ในแพลตฟอร์มของบริษัท ไปเจอเทคโนโลยีก็นำมาสู่แพลตฟอร์มบริษัท แต่ไม่ใช่เป็นแพลตฟอร์มแบบเปิด
แต่ ในวันนี้พอเราต้องแข่งขันที่มากขึ้น ทำให้โลกของการแข่งขันไม่มีพรมแดน เราก็ต้องเข้าสู่ยุคที่เปิดให้ลูกค้าเข้ามามีส่วนร่วม เปิดให้พาร์ทเนอร์เข้ามามีส่วนร่วม เปิดให้ StartUp เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้ามาช่วยกันขยับแพลตฟอร์มให้ขับเคลื่อนได้รวดเร็วขึ้น
แม้กระทั่งประเทศเองก็ยังถือว่าเป็นแพลตฟอร์ม ยกตัวอย่างเช่น ประเทศสิงค์โปร์ ประชากรที่เป็นคนต่างประเทศถึง 50% ของประชากรทั้งประเทศ ก็หมายถึงว่า สิงค์โปร์ก็เป็นแพลตฟอร์มที่เอื้อต่อ Eco System ที่จะดึงคนเก่งมาอยู่ในประเทศ ดึงบริษัทต่างประเทศให้เข้าไปร่วมลงทุนในประเทศ ดึงคนเก่ง ดึงสิ่งที่จะเป็นมูลค่าเพิ่มให้กับประเทศ และที่สำคัญดึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ให้เข้าไปอยู่ในประเทศสิงค์โปร์ได้อีกด้วย
เพราะฉะนั้นคำว่า Co-Creation Platform จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ
• กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ มีธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และไม่เกี่ยวข้องรวมอยู่ด้วยกัน การคิด Co Creation Platform ในบริษัทที่มีขนาดใหญ่ และมีความหลากหลาย ยากไหม ?
- การที่บริษัทมีความหลากหลาย มีความได้เปรียบในแง่ของการคิด Cross Industry ส่วนที่สำคัญของการที่จะสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เป็นแวลูใหม่ให้กับตลาด ก็คือ การคิดเรื่องใหม่ๆ ส่วนหนึ่งก็คือการผสมผสานความคิดข้ามอุตสาหกรรม
การที่บริษัทมีหลากหลายธูรกิจทำหลากหลายสิ่งก็ถือว่าเป็นโอกาส ในปัจจุบันนี้เราจะเห็นได้ว่าแพลตฟอร์มที่เปิดโอกาสให้ StartUP สามารถมีแพลตฟอร์มที่เปิดให้เข้ามาเป็นพาร์ทเนอร์ร่วมกันด้วย เพื่อที่จะให้มาสร้างคุณค่าไปด้วยกัน
แพลตฟอร์มที่จะประสบความสำเร็จได้นั้น จะต้องเป็นแบบ Win - Win คือทุกคนบนแพลตฟอร์มจะต้อง win-win ทั้งหมด
สำหรับประเทศไทย
จะเห็นได้ว่าก็มีแพลตฟอร์มเช่นเดียวกัน ในยุค 1.0 ที่เราชอบเรียกว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” จริงๆ ก็คือ แพลตฟอร์มฟรี คนไทยก็เลยโดดไปทำเกษตรกันค่อนประเทศ เพราะมีแพลตฟอร์มที่ดี
พอมายุค 2.0 ที่เราอยู่ในยุคอุตสาหกรรม คนไทยก็หันมาทำสินค้าส่งออก เราก็มีแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ มีการขนส่ง มีสนามบิน ทำให้เรามีแพลตฟอร์มที่ทำให้เราเจริญไปอีก 10 ปี
ยุคที่ 3 เราเรียกว่า Financial Platform สมัยก่อนการที่เราจะเอาเงิน จะต้องเอาบ้านไปค้ำ พอเกิด fianancial platform ทำให้เมื่อมีไอเดียดี ก็จะสามารถโน้มน้าวผู้ลงทุนได้ แค่นี้เอง โดยไม่ต้องมีหลักประกัน ถ้าไม่มีแพลตฟอร์มนี้ บริษัท StartUP ใหญ่ๆ ในอเมริกาก็คงจะไม่สามารถเกิดได้
สำหรับในยุค 4.0 ยุคนี้เป็นยุคที่สำคัญ เพราะเป็นยุคของข้อมูล ไมว่าจะใหญ่ จะเล็ก ในยุคนี้เป็นยุคของข้อมูล ยุค 4.0 มีแค่ 2 เรื่องที่สามารถทำให้สามารถเกิดแพลตฟอร์มได้ คือ
•
คน การที่จะทำให้คนเก่งมานั่งทำงานอยู่ด้วยกัน เช่น co-working space ซึ่งไม่ใช่ว่าสถานที่จะทำให้เราเก่งขึ้น แต่คนที่อยู่ใน Co-Working Space เป็นสิ่งที่ทำให้เราเก่งขึ้น เวลาที่เราแย่ หันไปมองข้างๆ จะต้องมีคนที่เจอเหตุการณ์ที่แย่กว่าเรา เราก็จะรู้สึกดี หรือเราสามารถจะได้รับการถ่ายทอดพลังจาก StartUP ซึ่งกันได้
•
ความคล่องตัว องค์กรใหญ่ๆ ไม่ได้อยากจะทำทุกเรื่อง และการที่จะขยับเคลื่อนองค์กรที่มีขนาดใหญ่มากๆ ก็มักจะมีความอุ้ยอ้ายตามขนาดขององค์กร ทำให้ StartUp มีความได้เปรียบมากกว่า
Co-Creation Platform คือ ???
New Normal เป็นคนธรรมดาที่มันไม่ธรรมดา ในสมัยก่อน เราจะเห็นได้ว่า ประเทศไทย และคนไทยมีความสุขกับเศรษฐกิจต่างๆในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาจากตั้งแต่ยุคเบบี้บูม (Baby Boomer) เรามีคนที่เยอะมาก แต่วันนี้ เราอยู่ในยุคที่เราเปลี่ยนจากการที่ทำมากได้น้อย มาเป็นยุคที่เราเจอความท้าทายในแง่ของการที่เราต้องทำน้อยได้มาก หมายถึงว่า ในภาคของเกษตรกรรม เกษตรกรก็น้อยลงไป อายุเฉลี่ยตอนนี้ประมาณที่อายุ 60 ปีละ แถมแรงงานตรงภาคส่วนนี้ก็ไม่พอแล้ว ในส่วนของแรงงานภาคอุตสาหกรรมเอง ก็ต้องนำเข้าแรงงานต่างประเทศเข้ามาเยอะแยะไปหมด เพราะว่าคนไทยไม่นิยมทำกัน ซึ่งเราจะเห็นตัวอย่างได้แถวทางจังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพราะฉะนั้นการใช้ Co-Creation Platform มาช่วยปรับเปลี่ยนจากทำมากได้น้อยไปทำน้อยได้มาก
เรื่องที่สองก็คือเรื่องเทคโนโลยี เราอยู่ในยุคที่เรากำลังพูดถึงเรื่องของข้อมูล AI และ Robotic เราอยู่ในยุคที่ทุกคนกำลังเริ่มต้นพร้อมกันใหม่แทบจะทั้งหมด ซึ่งเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมในอดีต เป็นสิ่งที่ประเทศในแถบยุโรป และประเทศอเมริกาทำมาก่อนแล้ว
แต่ ในยุคนี้เป็นโอกาสที่เรากำลังอยู่ในช่วงที่เราเริ่มพร้อมๆ กันในภูมิภาคนี้ เพราะฉะนั้นก็เป็นอีกอันที่เราจะสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมได้
Business Model สมัยก่อน เรามักจะบอกว่าธุรกิจใหญ่ได้เปรียบ ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ทุกธุรกิจพยายามที่จะผันตัวให้เป็นบริษัทขนาดใหญ่
แต่ ในยุคนี้มันไม่ใช่แล้ว เพราะเป็นยุคของปลาเร็วกินปลาช้า ดูอย่าง StartUP หากนำไปเปรียบเทียบกับธุรกิจ หรือองค์ที่มีขนาดใหญ่ การจะขยับหมุนแต่ละทีเหมือนกับการขยับเรือ จะต้องพยายามที่จะหมุนพังงาเรือเป็น 10 รอบ เรือถึงจะสามารถหันหัวไปได้
เพราะฉะนั้นในมุมของ Co-Creation Platform ของธุรกิจขนาดใหญ่ ก็คือ ต้องทำยังไงถึงจะให้เกิด Win - Win Situation
ในอดีต ประเทศไทย และคนส่วนใหญ่ก็มีความสุขกับยุคที่ทำ Economy of scale - Mass Production เพราะอะไร ???
- เพราะ Demand เยอะ Supply ทำไม่ทัน แต่ปัจจุบันแล้ว ในภาษาของ StartUP เราจะเรียกว่า Long Tail (ธุรกิจหางยาว) เราอยู่ในยุคที่ว่า ซัพพลาย หรือตัวเลือกในตลาดมีเยอะไปหมดแล้ว แต่เรายังชินกับการทำ Mass Production เรายังทำวัตถุดิบที่เป็น Raw materials เพราะเราทำเป็นแต่แบบนี้ พอทำเสร็จปุ๊บ ปรากฎว่าความต้องการไม่ได้เป็นเหมือนในสมัยก่อน ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป คนมีตัวเลือกในสินค้าชนิดเดียวกันเยอะขึ้น ก็จะเข้าสู่โหมดที่เรียกว่า Individualization อยากได้อะไรที่ตรงกับความต้องการจริงๆ ธุรกิจขนาดใหญ่ก็ต้องปรับตัว StartUp เองก็ต้องหา Niche Market ให้เจอ หา Business Model ใหม่ๆ
สุดท้ายที่ Life Style เราจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เรากำลังเข้าสู่ชุมชนเมือง (Urbanization) บางทีเราก็อยากจะใช้ชีวิตแบบเดิมแต่ก็ทำไม่ได้ เพราะจะถูกกดดันให้เปลี่ยนวิถีชีวิตในที่สุด
สมัยก่อน บริษัทก็ถือว่าเป็นแพลตฟอร์มหนึ่ง ในการที่จะดึงคนเก่งๆ เข้ามาอยู่ในบริษัท เข้ามาอยู่ในองค์กร สมัยก่อนเวลาเจอคนเก่ง เราก็จะไปซื้อตัวมา ก็มาอยู่ในแพลตฟอร์มของบริษัท ไปเจอเทคโนโลยีก็นำมาสู่แพลตฟอร์มบริษัท แต่ไม่ใช่เป็นแพลตฟอร์มแบบเปิด
แต่ ในวันนี้พอเราต้องแข่งขันที่มากขึ้น ทำให้โลกของการแข่งขันไม่มีพรมแดน เราก็ต้องเข้าสู่ยุคที่เปิดให้ลูกค้าเข้ามามีส่วนร่วม เปิดให้พาร์ทเนอร์เข้ามามีส่วนร่วม เปิดให้ StartUp เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้ามาช่วยกันขยับแพลตฟอร์มให้ขับเคลื่อนได้รวดเร็วขึ้น
แม้กระทั่งประเทศเองก็ยังถือว่าเป็นแพลตฟอร์ม ยกตัวอย่างเช่น ประเทศสิงค์โปร์ ประชากรที่เป็นคนต่างประเทศถึง 50% ของประชากรทั้งประเทศ ก็หมายถึงว่า สิงค์โปร์ก็เป็นแพลตฟอร์มที่เอื้อต่อ Eco System ที่จะดึงคนเก่งมาอยู่ในประเทศ ดึงบริษัทต่างประเทศให้เข้าไปร่วมลงทุนในประเทศ ดึงคนเก่ง ดึงสิ่งที่จะเป็นมูลค่าเพิ่มให้กับประเทศ และที่สำคัญดึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ให้เข้าไปอยู่ในประเทศสิงค์โปร์ได้อีกด้วย
• กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ มีธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และไม่เกี่ยวข้องรวมอยู่ด้วยกัน การคิด Co Creation Platform ในบริษัทที่มีขนาดใหญ่ และมีความหลากหลาย ยากไหม ?
- การที่บริษัทมีความหลากหลาย มีความได้เปรียบในแง่ของการคิด Cross Industry ส่วนที่สำคัญของการที่จะสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เป็นแวลูใหม่ให้กับตลาด ก็คือ การคิดเรื่องใหม่ๆ ส่วนหนึ่งก็คือการผสมผสานความคิดข้ามอุตสาหกรรม
การที่บริษัทมีหลากหลายธูรกิจทำหลากหลายสิ่งก็ถือว่าเป็นโอกาส ในปัจจุบันนี้เราจะเห็นได้ว่าแพลตฟอร์มที่เปิดโอกาสให้ StartUP สามารถมีแพลตฟอร์มที่เปิดให้เข้ามาเป็นพาร์ทเนอร์ร่วมกันด้วย เพื่อที่จะให้มาสร้างคุณค่าไปด้วยกัน
แพลตฟอร์มที่จะประสบความสำเร็จได้นั้น จะต้องเป็นแบบ Win - Win คือทุกคนบนแพลตฟอร์มจะต้อง win-win ทั้งหมด
สำหรับประเทศไทย
จะเห็นได้ว่าก็มีแพลตฟอร์มเช่นเดียวกัน ในยุค 1.0 ที่เราชอบเรียกว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” จริงๆ ก็คือ แพลตฟอร์มฟรี คนไทยก็เลยโดดไปทำเกษตรกันค่อนประเทศ เพราะมีแพลตฟอร์มที่ดี
พอมายุค 2.0 ที่เราอยู่ในยุคอุตสาหกรรม คนไทยก็หันมาทำสินค้าส่งออก เราก็มีแพลตฟอร์มโลจิสติกส์ มีการขนส่ง มีสนามบิน ทำให้เรามีแพลตฟอร์มที่ทำให้เราเจริญไปอีก 10 ปี
ยุคที่ 3 เราเรียกว่า Financial Platform สมัยก่อนการที่เราจะเอาเงิน จะต้องเอาบ้านไปค้ำ พอเกิด fianancial platform ทำให้เมื่อมีไอเดียดี ก็จะสามารถโน้มน้าวผู้ลงทุนได้ แค่นี้เอง โดยไม่ต้องมีหลักประกัน ถ้าไม่มีแพลตฟอร์มนี้ บริษัท StartUP ใหญ่ๆ ในอเมริกาก็คงจะไม่สามารถเกิดได้
สำหรับในยุค 4.0 ยุคนี้เป็นยุคที่สำคัญ เพราะเป็นยุคของข้อมูล ไมว่าจะใหญ่ จะเล็ก ในยุคนี้เป็นยุคของข้อมูล ยุค 4.0 มีแค่ 2 เรื่องที่สามารถทำให้สามารถเกิดแพลตฟอร์มได้ คือ
• คน การที่จะทำให้คนเก่งมานั่งทำงานอยู่ด้วยกัน เช่น co-working space ซึ่งไม่ใช่ว่าสถานที่จะทำให้เราเก่งขึ้น แต่คนที่อยู่ใน Co-Working Space เป็นสิ่งที่ทำให้เราเก่งขึ้น เวลาที่เราแย่ หันไปมองข้างๆ จะต้องมีคนที่เจอเหตุการณ์ที่แย่กว่าเรา เราก็จะรู้สึกดี หรือเราสามารถจะได้รับการถ่ายทอดพลังจาก StartUP ซึ่งกันได้
• ความคล่องตัว องค์กรใหญ่ๆ ไม่ได้อยากจะทำทุกเรื่อง และการที่จะขยับเคลื่อนองค์กรที่มีขนาดใหญ่มากๆ ก็มักจะมีความอุ้ยอ้ายตามขนาดขององค์กร ทำให้ StartUp มีความได้เปรียบมากกว่า