พิสูจน์ชัดยุค"บิ๊กตู่"!!สื่อนอกรายงาน ไทยครองแชมป์ 4ปีซ้อน ประเทศที่ “มีความทุกข์ยากน้อยที่สุดในโลก”!!??
ในขณะที่คนบางกลุ่มออกมาเคลื่อนไหว วิพากษ์การบริหารประเทศของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กล่าวหาการเข้ามาบริหารประเทศขของคสช. ทำให้ประชาชนยาก ลำบาก ไม่มีความสุข ต่างๆนานๆ แต่มีอยู่หนึ่งข่าวเล็กๆจากต่างประเทศ แต่มีนัยยะสำคัญและความหมายของประเทศไทยเราเป็นอย่างมาก
สำนักข่าวบลูมเบิร์กเผยแพร่รายงานดัชนีความทุกข์ยากประจำปีนี้ พบ ไทยรั้งอันดับ 1 ประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากต่ำที่สุดในโลกเป็นปีที่ 4ติดต่อกัน ถือว่าเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง
เป็นข่าวการประกาศอันดับ ดัชนีความทุกข์ยาก ประจำปี 2018 (2561) ของสำนักข่าว บลูมเบิร์ก ซึ่งเป็นสำนักดังที่มีทั้งสำนักข่าวทั่วไปและช่องโทรทัศน์ข่าวเศรษฐกิจอยู่ที่สหรัฐอเมริกา บลูมเบิร์กจัดทำ ดัชนีความทุกข์ยาก หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า Misery Index มาหลายปีแล้ว และสำหรับปีนี้เพิ่งประกาศเมื่อวัน วาเลนไทน์ที่14 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
ผลปรากฏว่าประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากต่ำที่สุดในโลก นั้นก็คือประเทศไทยของเรามีดัชนีอยู่ที่ 2.5 เท่านั้น
อันดับ 2 คือประเทศสิงคโปร์ มีดัชนีอยู่ที่ 3.2
อันดับ 3 คือประเทศญี่ปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์ มีดัชนีอยู่ที่ 3.6
อันดับ 5 คือประเทศไต้หวัน มีดัชนีอยู่ที่ 4.9
ทุกคนคิดว่าไม่ว่าจะเป็น สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ หรือแม้แต่ไต้หวัน เป็นประเทศที่น่าอยู่ แต่อย่างไร ประเทศไทยก็สามารถคว้าชัยชนะมาได้ ดัชนีที่ว่านี้ใช้ข้อมูลหลักเพียง 2 ตัวเท่านั้นในสูตรการคำนวณ ได้แก่ อัตราการ ว่างงาน ของประเทศใดประเทศหนึ่ง กับ อัตราเงินเฟ้อ ของประเทศนั้นๆ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้ผู้คนไม่มีความสุขในเชิงเศรษฐกิจ ชาติที่มีคะแนนต่ำในดัชนีนี้จึงถือว่ามีความสุขในเชิงเศรษฐกิจ จึงทำให้ประเทศไทย สามารถคว้าแชมป์มาครองได้ ถึง 4สมัยติดต่อกัน เป็นเพราะอัตราการว่างงานที่ไม่สูงมาก เพราะแรงงานไทย เป็นแรงงานที่มีฝีมือมีคุณภาพ หากสังเกตให้ดี จะพบว่าแรงงานระดับล่างส่วนใหญ่ ล้วนเป็นชาวต่างด้าวกันทั้งนั้น และอัตราเงินเฟ้อซึ่งก็ไม่สูงมากเช่นกัน แม้ปีนี้จะขยับขึ้นมาหน่อย เมื่อเทียบกับปีกลายแต่ก็ยังทุกข์ยากน้อยที่สุดๆของโลกอยู่นั่นเอง
สำหรับประเทศที่มีความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจมากที่สุดในโลกคืออันดับหนึ่งประเทศเวเนซุเอลา ซึ่งของตำแหน่งนี้มาสี่ปีซ้อนด้วยเช่นกันโดยค่าวัดดัชนีความทุกข์ยากพรุ่งถึงระดับ 1872 สืบเนื่องจากปัญหาเงินเฟ้อรุนแรง
ครั้งหนึ่ง เวเนซุเอลาเคยเป็นประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในภูมิภาคละตินอเมริกา แต่ในปัจจุบันพวกเขากำลังจะหมดสิ้นซึ่งอาหาร โรงพยาบาลเต็มไปด้วยเด็กป่วยไข้ ในขณะที่หมอไม่มียาหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์เพียงพอที่จะให้การรักษา แม้แต่ไฟฟ้าก็ไม่มีอะไรรับประกันได้ว่า จะมีให้ใช้ตลอดเวลา แต่ดูเหมือนจะมีเพียงสิ่งเดียวที่แน่นอนคือ ความวุ่นวาย ปัจจุบัน เศรษฐกิจของเวเนซุเอลากำลังใกล้พังทลาย ปัญหาด้านมนุษยธรรมเลวร้ายลงด้วยประชาชนหิวโหย และเจ็บป่วยโดยไม่จำเป็น อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ และอัตราเงินเฟ้อ รับสินบนเพื่ออนุมัติโครงการก่อสร้างต่างๆ เพิ่มหนี้สินที่พวกเขายังต้องดิ้นรนเพื่อหาเงินมาจ่ายให้มากขึ้นไปอีก
อันดับ2คือประเทศแอฟริกาใต้มีดัชนีความทุกข์ยาก 33.1
อันดับ3 ประเทศอาร์เจนติน่ามีดัชนีความทุกข์ยาก 27.1
อันดับ4 คืออียิปต์ มีดัชนีความทุกข์ยาก 26.4
อันดับ5 ได้แก่กรีชและตุรกี ซึ่งมีดัชนีเท่ากันอยู่
ทั้งนี้หากย้อนไปดูดัชนีความทุกข์ยากในปี 2560 ทำการสำรวจทั้งหมด 65 ประเทศทั่วโลก
อันดับ1 ผลรวมดัชนีความทุกข์ยากของประเทศไทยอยู่ที่ 2.6%
ส่วนอันดับ 2 ตามมาด้วยประเทศใกล้เคียงอย่าง สิงคโปร์ มีดัชนีความทุกข์ยากอยู่ที่ 3.1%
ตามด้วยสวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น
ขณะที่ประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากสูงที่สุดในโลกประจำปีนี้ ได้แก่ เวเนซุเอลา อันเนื่องมาจากปัญหาด้านการเมืองและเศรษฐกิจ โดยผลรวมดัชนีความทุกข์ยากของประเทศมากถึง 499.7% รองลงมาเป็น แอฟริกาใต้ อาร์เจนตินา กรีซ และตุรกี
ปี2559 โดยอ้างอิงจากภาวะเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานของ 74 ประเทศทั่วโลก พบว่าไทยเป็นประเทศที่มีความทุกข์จากภาวะเศรษฐกิจน้อยที่สุด หรืออีกนัยคือ สยามเมืองยิ้มถือเป็นดินแดนที่ผู้คนมีความสุขที่สุดในโลก โดยมีคะแนนในดัชนีความทุกข์ยากแค่ 1.1% น้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับอีก 73 ประเทศ
ประเทศอื่นๆ ที่มีความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจน้อยมากใกล้เคียงกับไทยได้แก่ 2 ประเทศเพื่อนบ้านร่วมทวีปเอเชีย โดยสิงคโปร์ตามมาติดๆ ในอันดับ 2 ได้คะแนน 1.40% ญี่ปุ่นได้อันดับสาม 2.70%
ส่วนประเทศที่มีความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจมากที่สุดในโลก คือ เวเนซุเอลา สืบเนื่องจากราคาน้ำมันตกต่ำ นำไปสู่ปัญหาสินค้าขาดแคลน รวมถึงสินค้าอาหารและเวชภัณฑ์ อัตราเงินเฟ้อของประเทศลาตินอเมริกาแห่งนี้ยังสูงถึง 181%
เวเนซุเอลามีคะแนนความทุกข์สูงถึง 188.2% เป็นประเทศที่มีความทุกข์มากที่สุดในโลกอย่างไม่มีคู่แข่ง ตามด้วยบอสเนีย 48.29% และแอฟริกาใต้ 32.90%
ในปี2558 ดัชนีความทุกข์ยากต่ำที่สุด อันดับ 1. ไทยเนื่องจากมีอัตราการว่างงานที่ต่ำมาก ด้วยตัวเลข 0.56 เปอร์เซ็นต์เมื่อช่วงสิ้นปี 2014 การมีตัวเลขที่ต่ำขนาดนี้ไม่ใช่เรื่องแปลกสำหรับไทย เพราะที่ผ่านมาตัวเลขอัตราการว่างงานของไทยก็ต่ำมาโดยตลอด อัตราการว่างงานสูงที่สุดของไทยคือ 5.73 เปอร์เซ็นต์ เกิดขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2544 ตามมาด้วย สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และ ไต้หวัน ตามลำดับ
เพราะฉะนั้น 4ปีที่ผ่านมาก็น่าจะเป็นมาตราฐานชี้ชัดแล้วว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีคนทุกข์ยากลำบากที่น้อยที่สุดในโลก หรืออีกนัยหนึ่งนั้นก็หมายความว่าเป็นประเทศที่น่าอยู่และมีความสุขประเทศหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นในยุคของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่มักมีฝ่ายตรงข้ามปลุกกระแสความไม่สงบสุขอยู่ตลอดเวลา
จะด้วยความสามารถของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์หรือไม่ แต่ก็พิสุจน์ได้ชัดเจนแล้วว่า 4 ปีที่ผ่านมาคนไทยทุกข์ยากลำบากที่น้อยที่สุดในโลก ตามหลักเศรษฐศาสตร์
http://www.tnews.co.th/contents/415541
บลูมเบิร์กจัดอันดับให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุดในโลกในปี 2017-2018 ชนะสิงคโปร์และญี่ปุ่นตามลำดับ ขณะที่ เวเนซุลา เป็นประเทศที่ทุกข์ยากมากที่สุด โดยใช้อัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานที่ต่ำเป็นปัจจัยชี้วัด
บลูมเบิร์กจัดอันดับดัชนีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจจาก 66 ประเทศ โดยใช้ปัจจัยอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานต่ำ ที่มักจะแสดงให้เห็นว่าสภาพเศรษฐกิจมีแนวโน้มในทิศทางที่ดี แต่การตีความดังกล่าวอาจไม่แน่เสมอไป เงินเฟ้อที่ต่ำอาจแสดงถึงความต้องการที่ต่ำ หรืออัตราการว่างงานที่ต่ำอาจ แสดงถึงโอกาสของแรงงานที่ลดลงในการเปลี่ยนงานที่ดีขึ้น ซึ่งอาจไม่ได้สะท้อนสภาพเศรษฐกิจที่ดีนัก
โดยการจัดอันดับในครั้งนี้ ไทยครองแชมป์อันดับ 1 ประเทศที่มีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุดในโลกในปี 2017 มีคะแนนที่ระดับ 1.9 คะแนน ขณะที่ดัชนีความทุกข์ยากคาดการณ์ในปี 2018 อยู่ที่ 2.5 คะแนน
ซึ่งข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติรายงานว่า อัตราการว่างงานเดือนมกราคม 2018 ของไทย มีผู้ว่างงาน 4.75 แสนคน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.3 เพิ่มขึ้น 1.11 แสนคนจากเดือนธันวาคม 2017 ที่มีผู้ว่างงาน 3.64 แสนคน ส่วนอัตราเงินเฟ้อเดือนมกราคม 2018 อยู่ที่ 0.68% ขณะที่เดือนธันวาคม 2017 สูงกว่า 0.78% ตามราคาสินค้าบางประเภทปรับตัวสูงขึ้น
รองลงมาคือ สิงคโปร์ ที่มีความทุกข์ยากน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 รองจากไทย ที่ 2.8 คะแนน ส่วนดัชนีคาดการณ์ปี 2018 อยู่ที่ 3.2 คะแนน
ญีปุ่นมีดัชนีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุดเป็นอันดับ 3 ที่ระดับ 3.3 คะแนน และดัชนีคาดการณ์ปี 2018 อยู่ที่ 3.6 ซึ่งเท่ากับสวิตเซอร์แลนด์ที่มีดัชนีความทุกข์ยากดีขึ้นเป็นอันดับ 3 จากอันดับ 4 ในปี 2017
ขณะที่ดัชนีคาดการณ์ปี 2018 ของไต้หวันมีอันดับดีขึ้นจากอันดับ 6 เป็นอันดับ 5 ที่คะแนน 4.9 เช่นเดียวกับอิสราเอลก็มีอันดับดีขึ้น
แต่ประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองของโลก มีระดับความทุกข์ยากเพิ่มขึ้นถึง 6.3 คะแนนในปีนี้ จาก 5.5 คะแนน ในปี 2017 โดยคาดว่าปีนี้ราคาสินค้าบริโภคจะเพิ่มขึ้น 2.3% จาก 1.6% ในปีที่ผ่านมา
นอกจากนี้ยังพบว่า เม็กซิโกมีความก้าวหน้ามากที่สุด สามารถจัดการกับปัญหาเงินเฟ้อสูงถึง 6% ในปี 2017 ลดลงมาอยู่ที่ 4.1% ในปีนี้ จนถูกจัดอันดับให้ดีขึ้นถึง 16 อันดับ ขณะที่อัตราการว่างงานยังคงอยู่ที่ประมาณ 3.4% แต่ยังไม่รวมถึงตัวเลขแรงงานนอกระบบกว่า 60%
ส่วนประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจมากที่สุด คือ เวเนซุเอลา โดยในปี 2018 มีคะแนนสูงถึง 1,864 คะแนน จากปัญหาเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น รองลงมาคือ แอฟริกาใต้ ที่กลายมาเป็นประเทศที่มีความทุกข์ยากมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ใน ปี 2018 ที่ระดับ 33.1 คะแนน แทนอียิปต์
อาเจนตินายังคงติดอันดับ 3 ประเทศที่มีความทุกข์ยากมากที่สุดในโลกเป็นปีที่สามในปี 2017 อยู่ที่ระดับ 36.9 แต่คะแนน ในปี 2018 นี้ อาจลดลงอยู่ที่ 27.1 คะแนน
ประเทศเพื่อนบ้านไทยอย่างมาเลเซีย มีดัชนีความทุกข์ยากอันดับที่ 52 จากอันดับที่ 43 เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งยังส่งผลกระทบด้านลบของเศรษฐกิจและประชาชน
ตามการสำรวจของบลูมเบิร์กชี้ว่า แนวโน้มเศรษฐกิจโลกโดยรวมมีแนวโน้มสดใสขึ้น โดยนักเศรษฐศาสตร์คาดว่าในปีนี้ (2018) เศรษฐกิจโลกจะเติบโตในอัตรา 3.7% ซึ่งเป็นตัวเลขที่สอดคล้องกับปีที่แล้ว และดีที่สุดนับตั้งแต่ปี 2011
ที่มา Bloomberg
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
https://workpointnews.com/2018/02/16/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82/
Bloomberg ยกไทยอันดับ 1 ประเทศที่มีความทุกข์ยากน้อยที่สุด ชนะสิงคโปร์และญี่ปุ่น
https://thestandard.co/bloomberg-misery-index/
ข่าวนี้...ตอบโจทย์ได้หมดเลยนะคะ ว่าประเทศไทยนั้นคนไทยมีความสุขที่ลุงตู่มอบให้
คนที่บ่นเรื่องเศรษฐกิจ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆแล้ว ถือว่าไทยยังดีกว่าเขาทั้งโลก
ลุงตู่คงปลื้มสุดๆเลยนะคะ เป็นรางวัลชีวิตที่ท่านได้รับเลยล่ะค่ะ
ท่านภูมิใจที่ทำให้คนไทยมาถึงจุดนี้
เพลงใจเพชรของท่าน...ไพเราะขึ้นมามากมายเลยนะคะ
คนอื่นเขามองเราดี้ดี คนไทยด้วยกันจงมองให้เห็นความดีของประเทศตรงนี้บ้าง
ยินดีกับคนใจเพชรนะคะ ลุงตู่....💗💗💗💗💗
ขอให้กำลังใจนะคะ....ยอดเยี่ยม ยิ่งใหญ่ เกรียงไกร ไทยแลนด์ ลุงตู่ สู้ๆ....
😄🤷~มาลาริน~กบต้มอย่าตกใจนะ..บลูมเบิร์กจัดอันดับ ไทยมีความทุกข์ยากด้านศก.น้อยที่สุดในโลก4 ปีซ้อน ชนะสิงคโปร์และญี่ปุ่น
ในขณะที่คนบางกลุ่มออกมาเคลื่อนไหว วิพากษ์การบริหารประเทศของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กล่าวหาการเข้ามาบริหารประเทศขของคสช. ทำให้ประชาชนยาก ลำบาก ไม่มีความสุข ต่างๆนานๆ แต่มีอยู่หนึ่งข่าวเล็กๆจากต่างประเทศ แต่มีนัยยะสำคัญและความหมายของประเทศไทยเราเป็นอย่างมาก
สำนักข่าวบลูมเบิร์กเผยแพร่รายงานดัชนีความทุกข์ยากประจำปีนี้ พบ ไทยรั้งอันดับ 1 ประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากต่ำที่สุดในโลกเป็นปีที่ 4ติดต่อกัน ถือว่าเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง
เป็นข่าวการประกาศอันดับ ดัชนีความทุกข์ยาก ประจำปี 2018 (2561) ของสำนักข่าว บลูมเบิร์ก ซึ่งเป็นสำนักดังที่มีทั้งสำนักข่าวทั่วไปและช่องโทรทัศน์ข่าวเศรษฐกิจอยู่ที่สหรัฐอเมริกา บลูมเบิร์กจัดทำ ดัชนีความทุกข์ยาก หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า Misery Index มาหลายปีแล้ว และสำหรับปีนี้เพิ่งประกาศเมื่อวัน วาเลนไทน์ที่14 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
ผลปรากฏว่าประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากต่ำที่สุดในโลก นั้นก็คือประเทศไทยของเรามีดัชนีอยู่ที่ 2.5 เท่านั้น
อันดับ 2 คือประเทศสิงคโปร์ มีดัชนีอยู่ที่ 3.2
อันดับ 3 คือประเทศญี่ปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์ มีดัชนีอยู่ที่ 3.6
อันดับ 5 คือประเทศไต้หวัน มีดัชนีอยู่ที่ 4.9
ทุกคนคิดว่าไม่ว่าจะเป็น สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สวิตเซอร์แลนด์ หรือแม้แต่ไต้หวัน เป็นประเทศที่น่าอยู่ แต่อย่างไร ประเทศไทยก็สามารถคว้าชัยชนะมาได้ ดัชนีที่ว่านี้ใช้ข้อมูลหลักเพียง 2 ตัวเท่านั้นในสูตรการคำนวณ ได้แก่ อัตราการ ว่างงาน ของประเทศใดประเทศหนึ่ง กับ อัตราเงินเฟ้อ ของประเทศนั้นๆ ซึ่งปัจจัยที่ทำให้ผู้คนไม่มีความสุขในเชิงเศรษฐกิจ ชาติที่มีคะแนนต่ำในดัชนีนี้จึงถือว่ามีความสุขในเชิงเศรษฐกิจ จึงทำให้ประเทศไทย สามารถคว้าแชมป์มาครองได้ ถึง 4สมัยติดต่อกัน เป็นเพราะอัตราการว่างงานที่ไม่สูงมาก เพราะแรงงานไทย เป็นแรงงานที่มีฝีมือมีคุณภาพ หากสังเกตให้ดี จะพบว่าแรงงานระดับล่างส่วนใหญ่ ล้วนเป็นชาวต่างด้าวกันทั้งนั้น และอัตราเงินเฟ้อซึ่งก็ไม่สูงมากเช่นกัน แม้ปีนี้จะขยับขึ้นมาหน่อย เมื่อเทียบกับปีกลายแต่ก็ยังทุกข์ยากน้อยที่สุดๆของโลกอยู่นั่นเอง
สำหรับประเทศที่มีความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจมากที่สุดในโลกคืออันดับหนึ่งประเทศเวเนซุเอลา ซึ่งของตำแหน่งนี้มาสี่ปีซ้อนด้วยเช่นกันโดยค่าวัดดัชนีความทุกข์ยากพรุ่งถึงระดับ 1872 สืบเนื่องจากปัญหาเงินเฟ้อรุนแรง
ครั้งหนึ่ง เวเนซุเอลาเคยเป็นประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในภูมิภาคละตินอเมริกา แต่ในปัจจุบันพวกเขากำลังจะหมดสิ้นซึ่งอาหาร โรงพยาบาลเต็มไปด้วยเด็กป่วยไข้ ในขณะที่หมอไม่มียาหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์เพียงพอที่จะให้การรักษา แม้แต่ไฟฟ้าก็ไม่มีอะไรรับประกันได้ว่า จะมีให้ใช้ตลอดเวลา แต่ดูเหมือนจะมีเพียงสิ่งเดียวที่แน่นอนคือ ความวุ่นวาย ปัจจุบัน เศรษฐกิจของเวเนซุเอลากำลังใกล้พังทลาย ปัญหาด้านมนุษยธรรมเลวร้ายลงด้วยประชาชนหิวโหย และเจ็บป่วยโดยไม่จำเป็น อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ และอัตราเงินเฟ้อ รับสินบนเพื่ออนุมัติโครงการก่อสร้างต่างๆ เพิ่มหนี้สินที่พวกเขายังต้องดิ้นรนเพื่อหาเงินมาจ่ายให้มากขึ้นไปอีก
อันดับ2คือประเทศแอฟริกาใต้มีดัชนีความทุกข์ยาก 33.1
อันดับ3 ประเทศอาร์เจนติน่ามีดัชนีความทุกข์ยาก 27.1
อันดับ4 คืออียิปต์ มีดัชนีความทุกข์ยาก 26.4
อันดับ5 ได้แก่กรีชและตุรกี ซึ่งมีดัชนีเท่ากันอยู่
ทั้งนี้หากย้อนไปดูดัชนีความทุกข์ยากในปี 2560 ทำการสำรวจทั้งหมด 65 ประเทศทั่วโลก
อันดับ1 ผลรวมดัชนีความทุกข์ยากของประเทศไทยอยู่ที่ 2.6%
ส่วนอันดับ 2 ตามมาด้วยประเทศใกล้เคียงอย่าง สิงคโปร์ มีดัชนีความทุกข์ยากอยู่ที่ 3.1%
ตามด้วยสวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น
ขณะที่ประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากสูงที่สุดในโลกประจำปีนี้ ได้แก่ เวเนซุเอลา อันเนื่องมาจากปัญหาด้านการเมืองและเศรษฐกิจ โดยผลรวมดัชนีความทุกข์ยากของประเทศมากถึง 499.7% รองลงมาเป็น แอฟริกาใต้ อาร์เจนตินา กรีซ และตุรกี
ปี2559 โดยอ้างอิงจากภาวะเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานของ 74 ประเทศทั่วโลก พบว่าไทยเป็นประเทศที่มีความทุกข์จากภาวะเศรษฐกิจน้อยที่สุด หรืออีกนัยคือ สยามเมืองยิ้มถือเป็นดินแดนที่ผู้คนมีความสุขที่สุดในโลก โดยมีคะแนนในดัชนีความทุกข์ยากแค่ 1.1% น้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับอีก 73 ประเทศ
ประเทศอื่นๆ ที่มีความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจน้อยมากใกล้เคียงกับไทยได้แก่ 2 ประเทศเพื่อนบ้านร่วมทวีปเอเชีย โดยสิงคโปร์ตามมาติดๆ ในอันดับ 2 ได้คะแนน 1.40% ญี่ปุ่นได้อันดับสาม 2.70%
ส่วนประเทศที่มีความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจมากที่สุดในโลก คือ เวเนซุเอลา สืบเนื่องจากราคาน้ำมันตกต่ำ นำไปสู่ปัญหาสินค้าขาดแคลน รวมถึงสินค้าอาหารและเวชภัณฑ์ อัตราเงินเฟ้อของประเทศลาตินอเมริกาแห่งนี้ยังสูงถึง 181%
เวเนซุเอลามีคะแนนความทุกข์สูงถึง 188.2% เป็นประเทศที่มีความทุกข์มากที่สุดในโลกอย่างไม่มีคู่แข่ง ตามด้วยบอสเนีย 48.29% และแอฟริกาใต้ 32.90%
ในปี2558 ดัชนีความทุกข์ยากต่ำที่สุด อันดับ 1. ไทยเนื่องจากมีอัตราการว่างงานที่ต่ำมาก ด้วยตัวเลข 0.56 เปอร์เซ็นต์เมื่อช่วงสิ้นปี 2014 การมีตัวเลขที่ต่ำขนาดนี้ไม่ใช่เรื่องแปลกสำหรับไทย เพราะที่ผ่านมาตัวเลขอัตราการว่างงานของไทยก็ต่ำมาโดยตลอด อัตราการว่างงานสูงที่สุดของไทยคือ 5.73 เปอร์เซ็นต์ เกิดขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2544 ตามมาด้วย สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และ ไต้หวัน ตามลำดับ
เพราะฉะนั้น 4ปีที่ผ่านมาก็น่าจะเป็นมาตราฐานชี้ชัดแล้วว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีคนทุกข์ยากลำบากที่น้อยที่สุดในโลก หรืออีกนัยหนึ่งนั้นก็หมายความว่าเป็นประเทศที่น่าอยู่และมีความสุขประเทศหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นในยุคของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่มักมีฝ่ายตรงข้ามปลุกกระแสความไม่สงบสุขอยู่ตลอดเวลา
จะด้วยความสามารถของรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์หรือไม่ แต่ก็พิสุจน์ได้ชัดเจนแล้วว่า 4 ปีที่ผ่านมาคนไทยทุกข์ยากลำบากที่น้อยที่สุดในโลก ตามหลักเศรษฐศาสตร์
http://www.tnews.co.th/contents/415541
บลูมเบิร์กจัดอันดับให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุดในโลกในปี 2017-2018 ชนะสิงคโปร์และญี่ปุ่นตามลำดับ ขณะที่ เวเนซุลา เป็นประเทศที่ทุกข์ยากมากที่สุด โดยใช้อัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานที่ต่ำเป็นปัจจัยชี้วัด
บลูมเบิร์กจัดอันดับดัชนีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจจาก 66 ประเทศ โดยใช้ปัจจัยอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานต่ำ ที่มักจะแสดงให้เห็นว่าสภาพเศรษฐกิจมีแนวโน้มในทิศทางที่ดี แต่การตีความดังกล่าวอาจไม่แน่เสมอไป เงินเฟ้อที่ต่ำอาจแสดงถึงความต้องการที่ต่ำ หรืออัตราการว่างงานที่ต่ำอาจ แสดงถึงโอกาสของแรงงานที่ลดลงในการเปลี่ยนงานที่ดีขึ้น ซึ่งอาจไม่ได้สะท้อนสภาพเศรษฐกิจที่ดีนัก
โดยการจัดอันดับในครั้งนี้ ไทยครองแชมป์อันดับ 1 ประเทศที่มีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุดในโลกในปี 2017 มีคะแนนที่ระดับ 1.9 คะแนน ขณะที่ดัชนีความทุกข์ยากคาดการณ์ในปี 2018 อยู่ที่ 2.5 คะแนน
ซึ่งข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติรายงานว่า อัตราการว่างงานเดือนมกราคม 2018 ของไทย มีผู้ว่างงาน 4.75 แสนคน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.3 เพิ่มขึ้น 1.11 แสนคนจากเดือนธันวาคม 2017 ที่มีผู้ว่างงาน 3.64 แสนคน ส่วนอัตราเงินเฟ้อเดือนมกราคม 2018 อยู่ที่ 0.68% ขณะที่เดือนธันวาคม 2017 สูงกว่า 0.78% ตามราคาสินค้าบางประเภทปรับตัวสูงขึ้น
รองลงมาคือ สิงคโปร์ ที่มีความทุกข์ยากน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 รองจากไทย ที่ 2.8 คะแนน ส่วนดัชนีคาดการณ์ปี 2018 อยู่ที่ 3.2 คะแนน
ญีปุ่นมีดัชนีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจน้อยที่สุดเป็นอันดับ 3 ที่ระดับ 3.3 คะแนน และดัชนีคาดการณ์ปี 2018 อยู่ที่ 3.6 ซึ่งเท่ากับสวิตเซอร์แลนด์ที่มีดัชนีความทุกข์ยากดีขึ้นเป็นอันดับ 3 จากอันดับ 4 ในปี 2017
ขณะที่ดัชนีคาดการณ์ปี 2018 ของไต้หวันมีอันดับดีขึ้นจากอันดับ 6 เป็นอันดับ 5 ที่คะแนน 4.9 เช่นเดียวกับอิสราเอลก็มีอันดับดีขึ้น
แต่ประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองของโลก มีระดับความทุกข์ยากเพิ่มขึ้นถึง 6.3 คะแนนในปีนี้ จาก 5.5 คะแนน ในปี 2017 โดยคาดว่าปีนี้ราคาสินค้าบริโภคจะเพิ่มขึ้น 2.3% จาก 1.6% ในปีที่ผ่านมา
นอกจากนี้ยังพบว่า เม็กซิโกมีความก้าวหน้ามากที่สุด สามารถจัดการกับปัญหาเงินเฟ้อสูงถึง 6% ในปี 2017 ลดลงมาอยู่ที่ 4.1% ในปีนี้ จนถูกจัดอันดับให้ดีขึ้นถึง 16 อันดับ ขณะที่อัตราการว่างงานยังคงอยู่ที่ประมาณ 3.4% แต่ยังไม่รวมถึงตัวเลขแรงงานนอกระบบกว่า 60%
ส่วนประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยากด้านเศรษฐกิจมากที่สุด คือ เวเนซุเอลา โดยในปี 2018 มีคะแนนสูงถึง 1,864 คะแนน จากปัญหาเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น รองลงมาคือ แอฟริกาใต้ ที่กลายมาเป็นประเทศที่มีความทุกข์ยากมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ใน ปี 2018 ที่ระดับ 33.1 คะแนน แทนอียิปต์
อาเจนตินายังคงติดอันดับ 3 ประเทศที่มีความทุกข์ยากมากที่สุดในโลกเป็นปีที่สามในปี 2017 อยู่ที่ระดับ 36.9 แต่คะแนน ในปี 2018 นี้ อาจลดลงอยู่ที่ 27.1 คะแนน
ประเทศเพื่อนบ้านไทยอย่างมาเลเซีย มีดัชนีความทุกข์ยากอันดับที่ 52 จากอันดับที่ 43 เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งยังส่งผลกระทบด้านลบของเศรษฐกิจและประชาชน
ตามการสำรวจของบลูมเบิร์กชี้ว่า แนวโน้มเศรษฐกิจโลกโดยรวมมีแนวโน้มสดใสขึ้น โดยนักเศรษฐศาสตร์คาดว่าในปีนี้ (2018) เศรษฐกิจโลกจะเติบโตในอัตรา 3.7% ซึ่งเป็นตัวเลขที่สอดคล้องกับปีที่แล้ว และดีที่สุดนับตั้งแต่ปี 2011
ที่มา Bloomberg
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
Bloomberg ยกไทยอันดับ 1 ประเทศที่มีความทุกข์ยากน้อยที่สุด ชนะสิงคโปร์และญี่ปุ่น
https://thestandard.co/bloomberg-misery-index/
ข่าวนี้...ตอบโจทย์ได้หมดเลยนะคะ ว่าประเทศไทยนั้นคนไทยมีความสุขที่ลุงตู่มอบให้
คนที่บ่นเรื่องเศรษฐกิจ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆแล้ว ถือว่าไทยยังดีกว่าเขาทั้งโลก
ลุงตู่คงปลื้มสุดๆเลยนะคะ เป็นรางวัลชีวิตที่ท่านได้รับเลยล่ะค่ะ
ท่านภูมิใจที่ทำให้คนไทยมาถึงจุดนี้
เพลงใจเพชรของท่าน...ไพเราะขึ้นมามากมายเลยนะคะ
คนอื่นเขามองเราดี้ดี คนไทยด้วยกันจงมองให้เห็นความดีของประเทศตรงนี้บ้าง
ยินดีกับคนใจเพชรนะคะ ลุงตู่....💗💗💗💗💗
ขอให้กำลังใจนะคะ....ยอดเยี่ยม ยิ่งใหญ่ เกรียงไกร ไทยแลนด์ ลุงตู่ สู้ๆ....