คำเตือนบทความต่อไปนี้ไม่สามรถหาเเหล่งอ้างอิงที่ถูกต้อง 100 เปอร์เซ็นได้โปรดใช้วิจารณญาณ
(การระบุจำเเนกจะอ้างอิงตามโมเดลหลัก)
ประวัติเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://en.wikipedia.org/wiki/Nambu_pistol
ปืนพกนัมบุออกแบบโดยพลโท Kijirō Nambu ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการปืนพกอัตโนมัติ 30 ปีของจักรวรรดิญี่ปุ่นโดยโครงการนี้เริ่มต้นในช่วงต้นยุค 1900 อิทธิพลน่าจะได้รับมาจากปืนพก C 96 ของเยอรมันในตอนที่คณะศึกษาดูงานของกองทัพญี่ปุ่นเดินทางไปยังยุโรป
1.รุ่นแรกได้รับการออกแบบในปี 1902 โดยตั้งชื่อรุ่นว่า Type A "Grandpa Nambu"

2.รุ่น 1902 ที่ผ่านการโมดิฟายแล้วจะเรียกว่า Type B "Papa Nambu"

ทั้งสองรุ่นใช้กระสุนขนาด 8×22mm Nambu บรรจุ 8 นัด
3. Type B "Baby Nambu" รุ่นนี้มีขนาดที่เล็กและใช้กระสุนขนาด 7×20mm Nambu บรรจุ 7 นัด ที่เล็กที่สุดในบรรดาของปืนพกรุ่นนี้

อย่างไรก็ตามในตอนนั้นปืนรุ่น Grandpa กับรุ่น Papa เเละ Baby ก็ไม่ได้เข้าประจำการเป็นอาวุธมาตรฐานในกองทัพญี่ปุ่นแต่มีการเปิดขายให้นายทหารหรือคนที่มีเงินสามารถซื้อเอาไว้เป็นสมบัติส่วนตัวได้เราจึงจะได้เห็นบรรดานายพลญี่ปุ่นหลายคนมีปืน นัมบุ 1902 ติดตัวกันทั้งนั้นต่อมาในปี 1909 กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นประจำการรุ่น Papa สำหรับนายทหารเรือในกองทัพหลัง WW1 ในช่วงปี 1920s ปืนในรุ่น 1902 จำนวนมากถูกขายให้กับจีนและกองทัพไทยยอดการผลิตของรุ่น Grandpa กับรุ่น Papa เเละ Baby คือ 10,300 กระบอก
4. รุ่นต้นแบบ Type A Experimental

ใน ปี 1920 พลโท Kijirō Nambu ได้ออกเเบบรุ่นบรรจุกระสุน 15 นัดของ Type A เพื่อนำเสนอต่อกองทัพเเต่เกิดเหตุเเเผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโตปี 1923 ทำให้โรงผลิตเสียหายมากเกินกว่าจะเดินสายการผลิตได้จนในที่สุดโครงการนี้ก็ต้องถูกพับเเล้วก็ได้ยกเลิกไป
5. Type 14 ได้รับการออกแบบในปี 1925 เข้าประจำการอย่างเป็นทางการในกองทัพญี่ปุ่นในปี 1927 ( 14 มาจากปีที่ 14 ในยุคจักรพรรดิโชวะ)

ปีที่ผลิต 1927-1945
ขนาดกระสุน 8×22mm Nambu บรรจุ8นัด
ประจำการ 1927-1945
ยอดการผลิต 400,000 กระบอก
5.1 รุ่นปรับปรุงโกร่งไกใหญ่จากปัญหาสวมถุงมือใช้งานไม่ได้ในเขตเเมนจูเลีย

6. North China Type 19

ปืน Copy ของ Tํype 14 ที่ผลิตขึ้นในเขตการยึดครองของญี่ปุ่นทางตอนเหนือของจีนในปี 1944
ผลิต 1944-1945
ขนาดกระสุน 8×22mm Nambu บรรจุ8นัด
ประจำการ 1944-1945
ยอดการผลิต ไม่ทราบ
7. Tํype 94 ได้รับการออกแบบในปี 1929 และได้รับการผลิตในปี 1935 ถูกสร้างขึ้นตามคำขอของนักบินและพลขับรถถังของญี่ปุ่นที่ต้องการปืนพกขนาดเล็ก ( เลข 94 นั้นมาจากการใช้เลขตามปฏิทินของญี่ปุ่นซึ่งนับตั้งแต่ 660 ปีก่อนคริสตกาลจึงทำให้ปืนพกรุ่นนี้ที่ถูกออกแบบในปี 1929 นั้นตรงตามตรงตามปี 2594 ในปฏิทินการก่อตั้งญี่ปุ่น )

เเต่ Type 94 มีปัญหาด้านความปลอดภัยเนื่องมาจากตรงที่มันมีส่วนประกอบของ sear ที่อยู่ข้างนอก และสามารถ "กด" เพื่อให้ปืนมันยิงได้เหมือนกับการเหนี่ยวไกได้จนมีฉายาว่า....
"suicide special"เเละ"surrender pistol"
ปีที่ผลิต 1935-1945
ขนาดกระสุน 8×22mm Nambu บรรจุ6นัด
ประจำการ 1935-1945
ยอดการผลิต 71,000 กระบอก
สวัสดีครับ
สารานุกรมปืนตอนที่ 91 เปิดตระกูลปืนพก Nambu (ฉบับละเอียดและเข้าใจง่าย)
(การระบุจำเเนกจะอ้างอิงตามโมเดลหลัก)
ประวัติเต็ม
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปืนพกนัมบุออกแบบโดยพลโท Kijirō Nambu ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการปืนพกอัตโนมัติ 30 ปีของจักรวรรดิญี่ปุ่นโดยโครงการนี้เริ่มต้นในช่วงต้นยุค 1900 อิทธิพลน่าจะได้รับมาจากปืนพก C 96 ของเยอรมันในตอนที่คณะศึกษาดูงานของกองทัพญี่ปุ่นเดินทางไปยังยุโรป
1.รุ่นแรกได้รับการออกแบบในปี 1902 โดยตั้งชื่อรุ่นว่า Type A "Grandpa Nambu"
2.รุ่น 1902 ที่ผ่านการโมดิฟายแล้วจะเรียกว่า Type B "Papa Nambu"
ทั้งสองรุ่นใช้กระสุนขนาด 8×22mm Nambu บรรจุ 8 นัด
3. Type B "Baby Nambu" รุ่นนี้มีขนาดที่เล็กและใช้กระสุนขนาด 7×20mm Nambu บรรจุ 7 นัด ที่เล็กที่สุดในบรรดาของปืนพกรุ่นนี้
อย่างไรก็ตามในตอนนั้นปืนรุ่น Grandpa กับรุ่น Papa เเละ Baby ก็ไม่ได้เข้าประจำการเป็นอาวุธมาตรฐานในกองทัพญี่ปุ่นแต่มีการเปิดขายให้นายทหารหรือคนที่มีเงินสามารถซื้อเอาไว้เป็นสมบัติส่วนตัวได้เราจึงจะได้เห็นบรรดานายพลญี่ปุ่นหลายคนมีปืน นัมบุ 1902 ติดตัวกันทั้งนั้นต่อมาในปี 1909 กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นประจำการรุ่น Papa สำหรับนายทหารเรือในกองทัพหลัง WW1 ในช่วงปี 1920s ปืนในรุ่น 1902 จำนวนมากถูกขายให้กับจีนและกองทัพไทยยอดการผลิตของรุ่น Grandpa กับรุ่น Papa เเละ Baby คือ 10,300 กระบอก
4. รุ่นต้นแบบ Type A Experimental
ใน ปี 1920 พลโท Kijirō Nambu ได้ออกเเบบรุ่นบรรจุกระสุน 15 นัดของ Type A เพื่อนำเสนอต่อกองทัพเเต่เกิดเหตุเเเผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโตปี 1923 ทำให้โรงผลิตเสียหายมากเกินกว่าจะเดินสายการผลิตได้จนในที่สุดโครงการนี้ก็ต้องถูกพับเเล้วก็ได้ยกเลิกไป
5. Type 14 ได้รับการออกแบบในปี 1925 เข้าประจำการอย่างเป็นทางการในกองทัพญี่ปุ่นในปี 1927 ( 14 มาจากปีที่ 14 ในยุคจักรพรรดิโชวะ)
ปีที่ผลิต 1927-1945
ขนาดกระสุน 8×22mm Nambu บรรจุ8นัด
ประจำการ 1927-1945
ยอดการผลิต 400,000 กระบอก
5.1 รุ่นปรับปรุงโกร่งไกใหญ่จากปัญหาสวมถุงมือใช้งานไม่ได้ในเขตเเมนจูเลีย
6. North China Type 19
ปืน Copy ของ Tํype 14 ที่ผลิตขึ้นในเขตการยึดครองของญี่ปุ่นทางตอนเหนือของจีนในปี 1944
ผลิต 1944-1945
ขนาดกระสุน 8×22mm Nambu บรรจุ8นัด
ประจำการ 1944-1945
ยอดการผลิต ไม่ทราบ
7. Tํype 94 ได้รับการออกแบบในปี 1929 และได้รับการผลิตในปี 1935 ถูกสร้างขึ้นตามคำขอของนักบินและพลขับรถถังของญี่ปุ่นที่ต้องการปืนพกขนาดเล็ก ( เลข 94 นั้นมาจากการใช้เลขตามปฏิทินของญี่ปุ่นซึ่งนับตั้งแต่ 660 ปีก่อนคริสตกาลจึงทำให้ปืนพกรุ่นนี้ที่ถูกออกแบบในปี 1929 นั้นตรงตามตรงตามปี 2594 ในปฏิทินการก่อตั้งญี่ปุ่น )
เเต่ Type 94 มีปัญหาด้านความปลอดภัยเนื่องมาจากตรงที่มันมีส่วนประกอบของ sear ที่อยู่ข้างนอก และสามารถ "กด" เพื่อให้ปืนมันยิงได้เหมือนกับการเหนี่ยวไกได้จนมีฉายาว่า....
"suicide special"เเละ"surrender pistol"
ปีที่ผลิต 1935-1945
ขนาดกระสุน 8×22mm Nambu บรรจุ6นัด
ประจำการ 1935-1945
ยอดการผลิต 71,000 กระบอก