เอาเข้าจริง มีคนไทยน้อยมากที่จะเข้าใจคำทางรัฐศาสตร์พวกนี้ทั้งหมด แต่ในขณะที่คนไทยส่วนใหญ่ของประเทศ มักเอาคำเหล่านี้มาใช้หาประโยชน์สร้างความขัดแย้งกัน!!!
... ประเทศไทย มีช่องว่างทางความคิดเยอะมาก ทำให้ขัดแย้งไม่มีวันจบ เพราะทุกคนเชื่อกันคนละแบบ !!! ...
ประเทศใดก็ตาม ... ที่มีคนเชื่อครบทั้ง 7 แบบนี้ ในปริมาณเท่าๆ กัน จะเดินต่อไปได้อย่างไร
ประเทศที่ตั้งหลักได้ว่าจะไปแนวไหน ถึงจะวิ่งไปพร้อมๆ กันได้ เหมือนตอนเล่นสามขา ดังนั้น ต้องเลิกเอาความต่างด้านความคิดมาสร้างความขัดแย้ง ความเกลียดชัง และกล่าวหาอีกฝ่ายเป็นผู้ร้าย ตั้งฉายาเสียๆ หายๆ โพสต์ใส่ร้ายกันในอินเตอร์เนต ด้วยความเชื่อที่ต่างกันแล้ว ประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถกำหนดทิศทาง แนวคิด ให้เดินไปได้อย่างรวดเร็ว เพราะสามารถลดการขัดแข้งขัดขากันเอง ที่มีมาตั้งแต่อดีตจนหมดไป
มาดูความเชื่อทางรัฐศาสตร์แบบต่างๆ กัน
1.
ชาตินิยม คือแนวคิดว่า แต่ล่ะประเทศควรจะมีชาติ 1 ชาติ เป็นเจ้าของประเทศ มักจะมีแนวโน้มจะมองว่าชาติตัวเองเหนือกว่าชาติอื่น และต้องการเป็นหนึ่งในเวทีโลก ทุกประเทศมีชาตินิยม ขึ้นกับมากหรือน้อย!!
ชาติไหนชาตินิยมน้อย...ดูถูกคนชาติเดียวกัน ไม่สนับสนุนบริษัทไทย นิยมสินค้าต่างประเทศอย่างเดียวก็จะลำบาก หรือ ชาตินิยมมาก ดูถูกประเทศอื่นๆ อันนี้ก็จะลำบากในอีกรูปแบบหนึ่งในแง่ความร่วมมือระดับภูมิภาค
2.
ประชาธิปไตย คือแนวคิดว่า ประชาชนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ทุกคนบนผืนแผ่นดินล้วนเท่าเทียมกันหมด อำนาจในการปกครองรัฐควรจะเป็นของปวงชนทั้งมวล อันนี้ประเทศที่สำเร็จต้องมีระบบการศึกษาที่สำเร็จ คือ ทุกเสียงมีความรู้ใกล้เคียงกัน ประเทศไหนเชื่อเรื่องนี้ แต่การศึกษาล้มเหลว ประเทศจะมีความเสี่ยงจากการขัดแย้ง มอมเมา Propaganda ด้านความคิด ทำให้ประเทศเดินช้ามาก
3.
เสรีนิยม คือแนวคิดว่า ประชาชนควรจะเป็นเสรีการการบังคับขู่เค็ญจากอำนาจรัฐ หรืออำนาจทั้งปวง โดยอาศัยการถ่วงดุลอำนาจจากรัฐบาล รัฐสภา ศาล และตรวจสอบโดยองค์กรต่างประเทศ เชื่อในกลไกตลาด มีการแทรกแทรงรัฐน้อยที่สุด หากประเทศใดอยากเป็นเสรีนิยม และรัฐมีขั้นตอนมากมายอันนี้ก็จะเดินหน้าลำบาก
4.
สังคมนิยม คือแนวคิดว่า ฐานะของผู้คนในรัฐควรจะเท่าเทียมกัน ซึ่งแบ่งออกเป็นหลายสำนัก ซึ่งอธิบายเหตุผลตรงจุดนี้ และแนวทางต่างกัน บ้างก็บอกว่า เพราะทุกคนติดหนี้ซึ่งกัน และกัน โดยสรุปก็คือแนวคิดที่ต้องการความเท่าเทียมทางฐานะ ดังนั้น NGO มักใช้แนวคิดด้านความเท่าเทียมของทางสังคมนิยม มาโน้มน้าวคนส่วนใหญ่ หากประเทศใดเป็นประชาธิปไตย แล้วถูกเอนมาทางสังคมนิยม ก็จะมี 2 แบบ คือ เพื่อจะเท่าเทียม ไม่ดึงคนรวยลงมา ก็ดึงคนจนขึ้นไป แต่ส่วนใหญ่ เลือกทำลายคนรวย ให้จนเท่ากันทั้งประเทศ เพื่อความเท่าเทียม
5.
ทุนนิยม คือแนวคิดว่า ควรจะดำเนินเศรษฐกิจอย่างเสรี ไม่ควรมีใครมาบังคับ ให้กลไกตลาดนำพาไป ใครเก่งก็รวย ใครขี้เกียจก็จน มือที่มองไม่เห็นของกลไกการตลาดจะสร้างสมดุลให้แก่โลก โลกนี้มีประเทศประชาธิปไตย เสรีนิยม ทุนนิยม เช่น USA EU อันนี้คือแนวทางแบบที่รู้จักดี
6.
คอมมิวนิสต์ คือแนวคิดที่ว่า เป็นสังคมนิยมสายมาร์กซิสม์ เชื่อว่าโลกเกิดจากการต่อสู้ทางชนชั้น และกรรมาชีพถูกดขี่มาตลอด ทั้งนั้นควรจะปฏิวัติ และล้มการกดขี่ให้หมดไป แล้วสร้างรัฐบาลของชนชั้นกรรมชีพขึ้น เพื่อนำประเทศสู่ความเป็นสังคมนิยม
7.
อนุรักษนิยม คือแนวคิดที่ว่า เอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น วิถีอินทรีย์ ประเพณีดั้งเดิม อันนี้จะตรงข้ามกับทุนนิยม เสรีนิยม และก็มักขัดแย้งกับเทคโนโลยีใหม่ๆ มักหาแนวร่วมโดยการขัดแย้งกับองค์กรที่เน้นเทคโนโลยี ดึงกระแสคนหมู่มากได้ โดยอิงความเชื่อ วิถีปฏิบัติ
คนไทย มีครบทั้ง 7 ความคิด แล้วคุณจะเลือกส่วนผสมความคิดแบบไหน ???
ประเทศใดก็ตาม ... ที่มีคนเชื่อครบทั้ง 7 แบบนี้ ในปริมาณเท่าๆ กัน จะเดินต่อไปได้อย่างไร
ประเทศที่ตั้งหลักได้ว่าจะไปแนวไหน ถึงจะวิ่งไปพร้อมๆ กันได้ เหมือนตอนเล่นสามขา ดังนั้น ต้องเลิกเอาความต่างด้านความคิดมาสร้างความขัดแย้ง ความเกลียดชัง และกล่าวหาอีกฝ่ายเป็นผู้ร้าย ตั้งฉายาเสียๆ หายๆ โพสต์ใส่ร้ายกันในอินเตอร์เนต ด้วยความเชื่อที่ต่างกันแล้ว ประเทศนั้นๆ ก็จะสามารถกำหนดทิศทาง แนวคิด ให้เดินไปได้อย่างรวดเร็ว เพราะสามารถลดการขัดแข้งขัดขากันเอง ที่มีมาตั้งแต่อดีตจนหมดไป
มาดูความเชื่อทางรัฐศาสตร์แบบต่างๆ กัน
1. ชาตินิยม คือแนวคิดว่า แต่ล่ะประเทศควรจะมีชาติ 1 ชาติ เป็นเจ้าของประเทศ มักจะมีแนวโน้มจะมองว่าชาติตัวเองเหนือกว่าชาติอื่น และต้องการเป็นหนึ่งในเวทีโลก ทุกประเทศมีชาตินิยม ขึ้นกับมากหรือน้อย!!
ชาติไหนชาตินิยมน้อย...ดูถูกคนชาติเดียวกัน ไม่สนับสนุนบริษัทไทย นิยมสินค้าต่างประเทศอย่างเดียวก็จะลำบาก หรือ ชาตินิยมมาก ดูถูกประเทศอื่นๆ อันนี้ก็จะลำบากในอีกรูปแบบหนึ่งในแง่ความร่วมมือระดับภูมิภาค
2. ประชาธิปไตย คือแนวคิดว่า ประชาชนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ทุกคนบนผืนแผ่นดินล้วนเท่าเทียมกันหมด อำนาจในการปกครองรัฐควรจะเป็นของปวงชนทั้งมวล อันนี้ประเทศที่สำเร็จต้องมีระบบการศึกษาที่สำเร็จ คือ ทุกเสียงมีความรู้ใกล้เคียงกัน ประเทศไหนเชื่อเรื่องนี้ แต่การศึกษาล้มเหลว ประเทศจะมีความเสี่ยงจากการขัดแย้ง มอมเมา Propaganda ด้านความคิด ทำให้ประเทศเดินช้ามาก
3. เสรีนิยม คือแนวคิดว่า ประชาชนควรจะเป็นเสรีการการบังคับขู่เค็ญจากอำนาจรัฐ หรืออำนาจทั้งปวง โดยอาศัยการถ่วงดุลอำนาจจากรัฐบาล รัฐสภา ศาล และตรวจสอบโดยองค์กรต่างประเทศ เชื่อในกลไกตลาด มีการแทรกแทรงรัฐน้อยที่สุด หากประเทศใดอยากเป็นเสรีนิยม และรัฐมีขั้นตอนมากมายอันนี้ก็จะเดินหน้าลำบาก
4. สังคมนิยม คือแนวคิดว่า ฐานะของผู้คนในรัฐควรจะเท่าเทียมกัน ซึ่งแบ่งออกเป็นหลายสำนัก ซึ่งอธิบายเหตุผลตรงจุดนี้ และแนวทางต่างกัน บ้างก็บอกว่า เพราะทุกคนติดหนี้ซึ่งกัน และกัน โดยสรุปก็คือแนวคิดที่ต้องการความเท่าเทียมทางฐานะ ดังนั้น NGO มักใช้แนวคิดด้านความเท่าเทียมของทางสังคมนิยม มาโน้มน้าวคนส่วนใหญ่ หากประเทศใดเป็นประชาธิปไตย แล้วถูกเอนมาทางสังคมนิยม ก็จะมี 2 แบบ คือ เพื่อจะเท่าเทียม ไม่ดึงคนรวยลงมา ก็ดึงคนจนขึ้นไป แต่ส่วนใหญ่ เลือกทำลายคนรวย ให้จนเท่ากันทั้งประเทศ เพื่อความเท่าเทียม
5. ทุนนิยม คือแนวคิดว่า ควรจะดำเนินเศรษฐกิจอย่างเสรี ไม่ควรมีใครมาบังคับ ให้กลไกตลาดนำพาไป ใครเก่งก็รวย ใครขี้เกียจก็จน มือที่มองไม่เห็นของกลไกการตลาดจะสร้างสมดุลให้แก่โลก โลกนี้มีประเทศประชาธิปไตย เสรีนิยม ทุนนิยม เช่น USA EU อันนี้คือแนวทางแบบที่รู้จักดี
6. คอมมิวนิสต์ คือแนวคิดที่ว่า เป็นสังคมนิยมสายมาร์กซิสม์ เชื่อว่าโลกเกิดจากการต่อสู้ทางชนชั้น และกรรมาชีพถูกดขี่มาตลอด ทั้งนั้นควรจะปฏิวัติ และล้มการกดขี่ให้หมดไป แล้วสร้างรัฐบาลของชนชั้นกรรมชีพขึ้น เพื่อนำประเทศสู่ความเป็นสังคมนิยม
7. อนุรักษนิยม คือแนวคิดที่ว่า เอาสิ่งดีงามในอดีตมาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน โดยนิยมการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น วิถีอินทรีย์ ประเพณีดั้งเดิม อันนี้จะตรงข้ามกับทุนนิยม เสรีนิยม และก็มักขัดแย้งกับเทคโนโลยีใหม่ๆ มักหาแนวร่วมโดยการขัดแย้งกับองค์กรที่เน้นเทคโนโลยี ดึงกระแสคนหมู่มากได้ โดยอิงความเชื่อ วิถีปฏิบัติ