การเขียนงานวิจัยตามแนวคิด Burke Johnson .. 3/9/2560
https://ppantip.com/topic/36836394
มีนักศึกษา ป.เอกเขียนมาถาม..
รบกวนค่ะ..ระหว่าง..
การสร้างและพัฒนารูปแบบ..กับ..
การออกแบบและพัฒนารูปแบบ..
ควรใช้ประโยคไหนที่เหมาะสมคะ
===
ผมมองว่าเป็นปัญหาโลกแตกครับ ขึนอยู่กับมุมมองหรือ value ของแต่ละคน ผมอยากถามเหมือนกันว่าไก่เกิดก่อนไข่หรือไข่เกิดก่อนไข่
หลักการเขียนงานวิชาการที่ตีพิมพ์จากตำราหลายๆเล่มเขาแนะนำไม่ให้ใช้คำที่ซ้ำซ้อนกัน (redundancy) เช่น Johnson (2014: 622) ได้สอนการเขียนงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร หนี่งในข้อห้ามคือ ห้ามเขียนคำซ้ำซ้อนกัน (Redundancy) อยากให้ย้อนกลับไปดูที่ถามครับว่าคำที่นำเสนอนั้นซ้ำซ้อนกันหรือไม่ แต่ก็ขึ้นอยู่กับนักวิชาการแต่ละท่านครับที่จะออกความเห็น ผมออกความเห็นแล้วก็อ้างอิงทางวิชาการ
อ้างอิง
Johnson, Burke and Christensen, Larry. (2014). Educational research : quantitative, qualitative, and mixed approaches. 5th ed. Thousand Oaks, California : SAGE.
มี full text ให้อ่านหนา 750 หน้าถ้าสนใจครับ
.. สรายุทธ อาทิตย์ 3/9/2560 19.24 น. กรุงเทพ
การเขียนงานวิจัยตามแนวคิด Burke Johnson .. 3/9/2560 สรายุทธ กันหลง
https://ppantip.com/topic/36836394
มีนักศึกษา ป.เอกเขียนมาถาม..
รบกวนค่ะ..ระหว่าง..
การสร้างและพัฒนารูปแบบ..กับ..
การออกแบบและพัฒนารูปแบบ..
ควรใช้ประโยคไหนที่เหมาะสมคะ
===
ผมมองว่าเป็นปัญหาโลกแตกครับ ขึนอยู่กับมุมมองหรือ value ของแต่ละคน ผมอยากถามเหมือนกันว่าไก่เกิดก่อนไข่หรือไข่เกิดก่อนไข่
หลักการเขียนงานวิชาการที่ตีพิมพ์จากตำราหลายๆเล่มเขาแนะนำไม่ให้ใช้คำที่ซ้ำซ้อนกัน (redundancy) เช่น Johnson (2014: 622) ได้สอนการเขียนงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร หนี่งในข้อห้ามคือ ห้ามเขียนคำซ้ำซ้อนกัน (Redundancy) อยากให้ย้อนกลับไปดูที่ถามครับว่าคำที่นำเสนอนั้นซ้ำซ้อนกันหรือไม่ แต่ก็ขึ้นอยู่กับนักวิชาการแต่ละท่านครับที่จะออกความเห็น ผมออกความเห็นแล้วก็อ้างอิงทางวิชาการ
อ้างอิง
Johnson, Burke and Christensen, Larry. (2014). Educational research : quantitative, qualitative, and mixed approaches. 5th ed. Thousand Oaks, California : SAGE.
มี full text ให้อ่านหนา 750 หน้าถ้าสนใจครับ
.. สรายุทธ อาทิตย์ 3/9/2560 19.24 น. กรุงเทพ