ผมเขียน กระทู้นี้ขึ้นเพื่อ ขอให้ทุกท่านช่วยแบ่งปันความเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับนักลงทุน,เก็งกำไรใน ตลท. ถึงหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน
จักได้ ทราบความเสี่ยง หรือวิธีการ ในการดำเนินการ ตามกฎหมาย ถ้านักลงทุนไม่ฟ้องเอง ก็ต้องหวังว่า ฝันว่า จะมี ... ฟ้องให้ อ่าน พรบ. แล้วก็สงสัยว่า เราจะฟ้องเองได้ยังไง แลัว ที่เราซื้อขาย สินค้า ในตลาด เราก็จ่ายค่าธรรมเนียมให้ บล. ,ต.ล.ท. อยู่ ทุกครั้ง
เรามาดูว่ามีใครเกี่ยวข้อง บ้าง ตอนบริษัท ไม่ปกติ
จู่ๆ ก็มีหนี้, ซื้อที่ดิน โดนยึดเงินมัดจำ, ลงทุนในโครงการต่างประเทศ แล้วขาดทุนมโหฬาร...
ก.ล.ต. ผู้คุมกฎ ตามกฎหมาย พรบ.
ต.ล.ท. ตลาดหลักทรัพย์ หาสินค้าคุณภาพ...
(ง่ายๆ การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควร... ก่อนลงทุน) มาขาย เก็บค่าธรรมเนียมซื้อขาย
บริษัท หลักทรัพย์ (Broker) ลูกค้า ยิ่งซื้อขายมาก ยิ่งดี ...
ผู้ถือหุ้น ใหญ่ 50.1 % มีอำนาจเบ็ดเสร็จ , 5% ต้องรายงาน ตลท. ,0.5 % มีชื่อ
ผู้ถือหุ้น รายยุ่ย 1,100 , ... ,มีหุ้นน้อย เรื่องเยอะ ( จากเจ้า ) จำนวนคนเยอะ
สมาคม บริษัท หลักทรัพย์ , สมาคม อะไรนะที่ชอบถามเรื่อง ธรรมมาภิบาล , กองทุนคุ้มครองผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ (Securities Investor Protection Fund หรือ SIPF)
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ คำๆนี้นี่มันหมายถึง ....
ขาดทุนจากการลงทุนรับได้ โดนโกง มันงงๆ เราไปซื้อสินค้าจากห้างฯ มีปัญหา ห้างยังเปลียนหรือคืนเงินให้ แต่นี่ ทั้ง กลต,ตลท,บล กลับ ขึ้น SP แล้ว... รอเวลายาวนาน ตาม พรบ.หลักทรัพย์ ฯ กลต. ตลท. มีอำนาจ ครอบจักรวาล กับ บริษัท จดทะเบียน และ บล.สมาชิก
ถ้าไม่มั่นใจ ตอนนี้ ควรขอใช้ ม.44 ให้ อำนาจ กับ ... เช่น
0. ทีมพิเศษ SP ("พนักงานเจ้าหน้าที่" ตามหมวด 11 พรบ. หลักทรัพย์, พรบ. บริษัท มหาชน)
1. กองทุนคุ้มครองผุ้ลงทุน
2. ราย ย่อย รวมกันจำนวน > 50 ราย , 1 % ...
3. กรรมการ อิสระ, กรรมการตรวจสอบ ( พวกพี่ทำหน้าที่ อะไร ....) อยากให้ กรรมการตรวจสอบ, อิสระ ทำหน้าที่ บ้าง กรณี SP,NP ต้องมาทำหน้าที่แทน รายย่อยด้วย
อาจจัดสัมมนา อย่างกว้างขวาง ใช้กรณี ตัวอย่าง เพื่อ ป้องกัน ไม่ให้ บ.มหาชน สร้างปัญหาอีก
ถ้า SP หยุดซื้อขาย หุ้น ต้องหยุดการทำธุรกรรม ผ่องถ่ายทรัพย์สินด้วย
กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องโดยตรง
1. พรบ. บริษัท มหาชน จำกัด
https://www.dbd.go.th/download/PDF_law/act_2535_latest_.pdf
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“บริษัท” หมายความว่า บริษัทมหาชนจํากัดซึ่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้
“บริษัทเอกชน” หมายความว่า บริษัทจํากัดซึ่งตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการของบริษัทมหาชนจํากัด
“ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานกรรมการของบริษัทมหาชนจํากัด
“กรรมการ” หมายความว่า กรรมการของบริษัทมหาชนจํากัด
“นายทะเบียน” หมายความว่า อธิบดีกรมทะเบียนการค้า และให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งอธิบดี กรมทะเบียนการค้ามอบหมายด้วย
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 7 การประชุม
หมวด 9 การตรวจสอบ
หมวด 17 การลงโทษ
2. พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
http://www.sec.or.th/TH/SECInfo/LawsRegulation/Documents/SECAct_2559_codified.pdf
กฎเกณฑ์ ที่ ตลท. ใช้กับ บ.จดทะเบียน
https://www.set.or.th/set/notification.do?idLv1=1&idLv2=11&language=th&country=TH
“หลักทรัพย์จดทะเบียน” หมายความว่า หลักทรัพย์ที่ได้รับการจดทะเบียน หรือได้รับการอนุญาตให้ทาการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“สานักงาน” หมายความว่า สานักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
“เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
จาก หมวด 12 โทษทางอาญา
มาตรา ๓๐๕ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทาให้สูญหาย หรือไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์สินหรือเอกสารใด ๆ อันพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ยึด อายัด รักษาไว้ หรือสั่งให้ส่งเพื่อเป็นพยานหลักฐานตามมาตรา ๒๖๔ ไม่ว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะรักษาทรัพย์สินหรือเอกสารนั้น ไว้เอง หรือสั่งให้ผู้นั้นหรือผู้อื่นส่งหรือรักษาไว้ก็ตาม ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสามปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
มาตรา ๓๐๖ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดาเนินงานของนิติบุคคลใดตามพระราชบัญญัตินี้ โดยทุจริต หลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จแก่ประชาชน หรือด้วยการปกปิดความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ประชาชน และโดยการหลอกลวงดังว่านั้นได้ไป ซึ่งทรัพย์สินจากประชาชนผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทาให้ประชาชนผู้ถูกหลอกลวง หรือบุคคลที่สามทา ถอน หรือทาลายเอกสารสิทธิ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท
มาตรา ๓๐๗, มาตรา ๓๐๘ ...
ขอให้ ต.ล.ท., ก.ล.ต. จัดทำ คู่มือ กรณีไม่ปกติ Exxxx, Poxxx, Axx, และพวกที่ติด SP อีก....
จักได้ ทราบความเสี่ยง หรือวิธีการ ในการดำเนินการ ตามกฎหมาย ถ้านักลงทุนไม่ฟ้องเอง ก็ต้องหวังว่า ฝันว่า จะมี ... ฟ้องให้ อ่าน พรบ. แล้วก็สงสัยว่า เราจะฟ้องเองได้ยังไง แลัว ที่เราซื้อขาย สินค้า ในตลาด เราก็จ่ายค่าธรรมเนียมให้ บล. ,ต.ล.ท. อยู่ ทุกครั้ง
เรามาดูว่ามีใครเกี่ยวข้อง บ้าง ตอนบริษัท ไม่ปกติ จู่ๆ ก็มีหนี้, ซื้อที่ดิน โดนยึดเงินมัดจำ, ลงทุนในโครงการต่างประเทศ แล้วขาดทุนมโหฬาร...
ก.ล.ต. ผู้คุมกฎ ตามกฎหมาย พรบ.
ต.ล.ท. ตลาดหลักทรัพย์ หาสินค้าคุณภาพ... (ง่ายๆ การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควร... ก่อนลงทุน) มาขาย เก็บค่าธรรมเนียมซื้อขาย
บริษัท หลักทรัพย์ (Broker) ลูกค้า ยิ่งซื้อขายมาก ยิ่งดี ...
ผู้ถือหุ้น ใหญ่ 50.1 % มีอำนาจเบ็ดเสร็จ , 5% ต้องรายงาน ตลท. ,0.5 % มีชื่อ
ผู้ถือหุ้น รายยุ่ย 1,100 , ... ,มีหุ้นน้อย เรื่องเยอะ ( จากเจ้า ) จำนวนคนเยอะ
สมาคม บริษัท หลักทรัพย์ , สมาคม อะไรนะที่ชอบถามเรื่อง ธรรมมาภิบาล , กองทุนคุ้มครองผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ (Securities Investor Protection Fund หรือ SIPF)
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ คำๆนี้นี่มันหมายถึง ....
ขาดทุนจากการลงทุนรับได้ โดนโกง มันงงๆ เราไปซื้อสินค้าจากห้างฯ มีปัญหา ห้างยังเปลียนหรือคืนเงินให้ แต่นี่ ทั้ง กลต,ตลท,บล กลับ ขึ้น SP แล้ว... รอเวลายาวนาน ตาม พรบ.หลักทรัพย์ ฯ กลต. ตลท. มีอำนาจ ครอบจักรวาล กับ บริษัท จดทะเบียน และ บล.สมาชิก
ถ้าไม่มั่นใจ ตอนนี้ ควรขอใช้ ม.44 ให้ อำนาจ กับ ... เช่น
0. ทีมพิเศษ SP ("พนักงานเจ้าหน้าที่" ตามหมวด 11 พรบ. หลักทรัพย์, พรบ. บริษัท มหาชน)
1. กองทุนคุ้มครองผุ้ลงทุน
2. ราย ย่อย รวมกันจำนวน > 50 ราย , 1 % ...
3. กรรมการ อิสระ, กรรมการตรวจสอบ ( พวกพี่ทำหน้าที่ อะไร ....) อยากให้ กรรมการตรวจสอบ, อิสระ ทำหน้าที่ บ้าง กรณี SP,NP ต้องมาทำหน้าที่แทน รายย่อยด้วย
อาจจัดสัมมนา อย่างกว้างขวาง ใช้กรณี ตัวอย่าง เพื่อ ป้องกัน ไม่ให้ บ.มหาชน สร้างปัญหาอีก
ถ้า SP หยุดซื้อขาย หุ้น ต้องหยุดการทำธุรกรรม ผ่องถ่ายทรัพย์สินด้วย
กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องโดยตรง
1. พรบ. บริษัท มหาชน จำกัด
https://www.dbd.go.th/download/PDF_law/act_2535_latest_.pdf
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“บริษัท” หมายความว่า บริษัทมหาชนจํากัดซึ่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้
“บริษัทเอกชน” หมายความว่า บริษัทจํากัดซึ่งตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการของบริษัทมหาชนจํากัด
“ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานกรรมการของบริษัทมหาชนจํากัด
“กรรมการ” หมายความว่า กรรมการของบริษัทมหาชนจํากัด
“นายทะเบียน” หมายความว่า อธิบดีกรมทะเบียนการค้า และให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งอธิบดี กรมทะเบียนการค้ามอบหมายด้วย
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด 7 การประชุม
หมวด 9 การตรวจสอบ
หมวด 17 การลงโทษ
2. พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
http://www.sec.or.th/TH/SECInfo/LawsRegulation/Documents/SECAct_2559_codified.pdf
กฎเกณฑ์ ที่ ตลท. ใช้กับ บ.จดทะเบียน
https://www.set.or.th/set/notification.do?idLv1=1&idLv2=11&language=th&country=TH
“หลักทรัพย์จดทะเบียน” หมายความว่า หลักทรัพย์ที่ได้รับการจดทะเบียน หรือได้รับการอนุญาตให้ทาการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“สานักงาน” หมายความว่า สานักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
“เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
จาก หมวด 12 โทษทางอาญา
มาตรา ๓๐๕ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เอาไปเสีย หรือทาให้สูญหาย หรือไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์สินหรือเอกสารใด ๆ อันพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ยึด อายัด รักษาไว้ หรือสั่งให้ส่งเพื่อเป็นพยานหลักฐานตามมาตรา ๒๖๔ ไม่ว่าพนักงานเจ้าหน้าที่จะรักษาทรัพย์สินหรือเอกสารนั้น ไว้เอง หรือสั่งให้ผู้นั้นหรือผู้อื่นส่งหรือรักษาไว้ก็ตาม ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสามปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
มาตรา ๓๐๖ กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดาเนินงานของนิติบุคคลใดตามพระราชบัญญัตินี้ โดยทุจริต หลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จแก่ประชาชน หรือด้วยการปกปิดความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งแก่ประชาชน และโดยการหลอกลวงดังว่านั้นได้ไป ซึ่งทรัพย์สินจากประชาชนผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือทาให้ประชาชนผู้ถูกหลอกลวง หรือบุคคลที่สามทา ถอน หรือทาลายเอกสารสิทธิ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท
มาตรา ๓๐๗, มาตรา ๓๐๘ ...