เพชรในเพลงบรรเลงศิลป์ไม่สิ้นศาสตร์
ความสามารถบรรจงแต่งเหมือนแต้มศิลป์
ขับร้องไปให้ผองไทยต่างได้ยิน
ภาษาไทยยังไม่สิ้นความสวยงาม
ถูกอักขระวิธีมีดีแน่
ไม่เพียงแค่คำนิยมที่ส่งถาม
เป็นแบบอย่างที่ถูกต้องและสื่อความ
ภาษาไทยในสยามวิจิตรเอย
สวัสดีครับ วันนี้วันภาษาไทย เป็นวันอีกวันหนึ่งที่เราควรจะให้ความสำคัญ
ปกติผมมักจะเอาเพลงมาแล้วแต่งกลอนไปด้วย เพราะโดยส่วนตัวก่อนที่จะเข้ามาหัดเขียนกลอนในห้องกลอนนี้ ผมชอบ"คำในเพลง" เป็นอย่างมาก และรู้สึกทึ่งในผู้ประพันธ์ที่คิดคำเหล่านั้นออกมาได้ตรงใจจริงๆ เพราะความชื่นชอบในผู้ประพันธ์แต่งเพลงจึงได้ติดตามแฟนคลับ ทำให้ได้รู้รางวัลนี้ครับ
รางวัลเพชรในเพลง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้รางวัลเพชรในเพลง กระทรวงวัฒนธรรม โดยสำนักงานวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ผู้ดำเนินงานการประกวดเพชรในเพลง เนื่องใน วันภาษาไทยแห่งชาติ ซึ่งตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี สำหรับนักร้อง เพลงไทยสากล ลูกทุ่ง ที่ออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขระภาษาไทย เพื่อยกย่องบุคลลในวงการเพลงที่มีผลงานดีเด่นด้านภาษาไทย ทั้งนักประพันธ์เพลงที่มีความสามารถผสมผสานความรู้ด้านภาษา วรรณกรรม และนักร้องที่ร้องเพลงออกเสียงชัดเจน และถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาไทย โดยจัดพิธีมอบรางวัล ณ โรงละครแห่งชาติ ก่อนที่จะเปลี่ยนไปจัดพืธีมอบรางวัล ณศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ผลรางวัลในแต่ละปี
วิกิพีเดีย
ปีนี้ มีผู้ส่งผลงานเพลงเข้าประกวดเฉพาะที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ จำนวน ๓๘๕ เพลง คณะกรรมการได้พิจารณาตัดสินผลงานเพลงที่ส่งเข้าประกวด ปรากฏมีผู้ได้รับรางวัล ๒๓ รางวัล ดังนี้
รางวัลเชิดชูเกียรติพิเศษผู้มีคุณูปการต่อวงการเพลง ได้แก่ นายวิรัช อยู่ถาวร
รางวัลเชิดชูเกียรติพิเศษองค์กรที่สนับสนุนการเผยแพร่เพลงไทยที่มีคุณภาพ ได้แก่ กรมประชาสัมพันธ์
รางวัลเชิดชูเกียรติพิเศษครูเพลงผู้ประพันธ์เพลงอมตะ ได้แก่ ครูสุรพล โทณะวณิก
รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ประพันธ์เพลงดีเด่นในอดีต ได้แก่ เพลงเกิดมาพึ่งกัน ผู้ประพันธ์ ครูไสล ไกรเลิศ
รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ประพันธ์เพลงดีเด่นในอดีต ได้แก่ เพลงเทพธิดาผ้าซิ่น ผู้ประพันธ์ ครูชลธี ธารทอง
รางวัลการประพันธ์เพลงดีเด่นด้านภาษาไทย
ประเภทการประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากล
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงตราบลมหายใจสุดท้าย ผู้ประพันธ์ พระปกรณ์วินน์ ฐิตวํโส
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงคำถามแห่งชีวิต ผู้ประพันธ์ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงสวรรค์ปลายด้ามขวาน ผู้ประพันธ์ เมฆ อาร์มี่
ประเภทการประพันธ์คำร้องเพลงไทยลูกทุ่ง
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงทุ่งเหงา ผู้ประพันธ์ โน้ต เชิญยิ้ม
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงเล่าสู่หลานฟัง ผู้ประพันธ์ สลา คุณวุฒิ
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงดับไฟใต้ ผู้ประพันธ์ ครูชลธี ธารทอง
รางวัลการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยสากลชาย
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงพ่อภูมิพล ผู้ขับร้อง ยืนยง โอภากุล
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงสวรรค์ปลายด้ามขวาน ผู้ขับร้อง เมฆ อาร์มี่
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงมะลิ ผู้ขับร้อง ธานินทร์ อินทรเทพ
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยสากลหญิง
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงตราบลมหายใจสุดท้าย ผู้ขับร้อง ปาน ธนพร แวกประยูร
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงคำถามแห่งชีวิต ผู้ขับร้อง ปราชญา ศิริพงษ์สุนทร
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงขอเป็นแค่ดาว ผู้ขับร้อง ดวงดาว ทินโรจน์
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งชาย
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงทุ่งเหงา ผู้ขับร้อง จักรพงศ์ หาญภิรมย์
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงขายข้าวขอนาง ผู้ขับร้อง เต้ย จักรรินท์ ศิลา
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงฝากเพลงถึงเธอ ผู้ขับร้อง เต๋า ภูศิลป์ วารินรักษ์
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงรอพี่ที่บ้านนอก ผู้ขับร้อง กระแต อาร์สยาม
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงลองรัก ผู้ขับร้อง ยิ้ม สุทธิดา
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงทำดีตามรอยพ่อ ผู้ขับร้อง เหมียว คุณาธาร
ที่มา
เพชรในเพลง กรมศิลปากร
วันภาษาไทย - รางวัลเพชรในเพลง
ความสามารถบรรจงแต่งเหมือนแต้มศิลป์
ขับร้องไปให้ผองไทยต่างได้ยิน
ภาษาไทยยังไม่สิ้นความสวยงาม
ถูกอักขระวิธีมีดีแน่
ไม่เพียงแค่คำนิยมที่ส่งถาม
เป็นแบบอย่างที่ถูกต้องและสื่อความ
ภาษาไทยในสยามวิจิตรเอย
สวัสดีครับ วันนี้วันภาษาไทย เป็นวันอีกวันหนึ่งที่เราควรจะให้ความสำคัญ
ปกติผมมักจะเอาเพลงมาแล้วแต่งกลอนไปด้วย เพราะโดยส่วนตัวก่อนที่จะเข้ามาหัดเขียนกลอนในห้องกลอนนี้ ผมชอบ"คำในเพลง" เป็นอย่างมาก และรู้สึกทึ่งในผู้ประพันธ์ที่คิดคำเหล่านั้นออกมาได้ตรงใจจริงๆ เพราะความชื่นชอบในผู้ประพันธ์แต่งเพลงจึงได้ติดตามแฟนคลับ ทำให้ได้รู้รางวัลนี้ครับ
รางวัลเพชรในเพลง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปีนี้ มีผู้ส่งผลงานเพลงเข้าประกวดเฉพาะที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ จำนวน ๓๘๕ เพลง คณะกรรมการได้พิจารณาตัดสินผลงานเพลงที่ส่งเข้าประกวด ปรากฏมีผู้ได้รับรางวัล ๒๓ รางวัล ดังนี้
รางวัลเชิดชูเกียรติพิเศษผู้มีคุณูปการต่อวงการเพลง ได้แก่ นายวิรัช อยู่ถาวร
รางวัลเชิดชูเกียรติพิเศษองค์กรที่สนับสนุนการเผยแพร่เพลงไทยที่มีคุณภาพ ได้แก่ กรมประชาสัมพันธ์
รางวัลเชิดชูเกียรติพิเศษครูเพลงผู้ประพันธ์เพลงอมตะ ได้แก่ ครูสุรพล โทณะวณิก
รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ประพันธ์เพลงดีเด่นในอดีต ได้แก่ เพลงเกิดมาพึ่งกัน ผู้ประพันธ์ ครูไสล ไกรเลิศ
รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ประพันธ์เพลงดีเด่นในอดีต ได้แก่ เพลงเทพธิดาผ้าซิ่น ผู้ประพันธ์ ครูชลธี ธารทอง
รางวัลการประพันธ์เพลงดีเด่นด้านภาษาไทย
ประเภทการประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากล
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงตราบลมหายใจสุดท้าย ผู้ประพันธ์ พระปกรณ์วินน์ ฐิตวํโส
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงคำถามแห่งชีวิต ผู้ประพันธ์ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงสวรรค์ปลายด้ามขวาน ผู้ประพันธ์ เมฆ อาร์มี่
ประเภทการประพันธ์คำร้องเพลงไทยลูกทุ่ง
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงทุ่งเหงา ผู้ประพันธ์ โน้ต เชิญยิ้ม
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงเล่าสู่หลานฟัง ผู้ประพันธ์ สลา คุณวุฒิ
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงดับไฟใต้ ผู้ประพันธ์ ครูชลธี ธารทอง
รางวัลการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยสากลชาย
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงพ่อภูมิพล ผู้ขับร้อง ยืนยง โอภากุล
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงสวรรค์ปลายด้ามขวาน ผู้ขับร้อง เมฆ อาร์มี่
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงมะลิ ผู้ขับร้อง ธานินทร์ อินทรเทพ
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยสากลหญิง
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงตราบลมหายใจสุดท้าย ผู้ขับร้อง ปาน ธนพร แวกประยูร
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงคำถามแห่งชีวิต ผู้ขับร้อง ปราชญา ศิริพงษ์สุนทร
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงขอเป็นแค่ดาว ผู้ขับร้อง ดวงดาว ทินโรจน์
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งชาย
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงทุ่งเหงา ผู้ขับร้อง จักรพงศ์ หาญภิรมย์
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงขายข้าวขอนาง ผู้ขับร้อง เต้ย จักรรินท์ ศิลา
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงฝากเพลงถึงเธอ ผู้ขับร้อง เต๋า ภูศิลป์ วารินรักษ์
ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ เพลงรอพี่ที่บ้านนอก ผู้ขับร้อง กระแต อาร์สยาม
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงลองรัก ผู้ขับร้อง ยิ้ม สุทธิดา
รางวัลชมเชย ได้แก่ เพลงทำดีตามรอยพ่อ ผู้ขับร้อง เหมียว คุณาธาร
ที่มา เพชรในเพลง กรมศิลปากร