เรื่องราวจากเวปไซค์ หลักเมืองนครศรีธรรมราช โดยคุณ นายประยงค์ - นางนวลจันทร์ เชาวิลตถวิล(
http://www.rakmuang30.com/ramung.html)
กล่าวถึงผู้ออกแบบอาคารหลักเมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งขณะนั้นท่านผู้ออกแบบเป็นหนึ่งในขณะกรรมการ ศิษฐ์ยานุศิษย์
(
http://www.rakmuang30.com/board.html )
"อาคารหลัก ประกอบไปด้วยอาคาร ๕ หลัง หลังกลางเป็นที่ประดิษฐานหลักเมือง ลักษณะของการออกแบบมีศิลปะคล้ายศิลปะศรีวิชัย
วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ส่วนอาคารเล็ก ๔ หลัง ถือเป็นบริวารประจำทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ศาลจตุโลกเทพ
ประกอบด้วย พระเสื้อเมือง , พระทรงเมือง , พระพรหมเมือง , และ พระบันดาลเมือง วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
เสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ผู้ออกแบบอาคารศาลหลักเมืองคือ ยุทธนา โมรากุล"
รวมถึงกับนายเอนก สิทธิประศาสตร์ และคนดังอื่น ๆ อีกหลายคนในสมัยนั้น ไม่เว้นแม้กระทั่งนายสนธิ ลิ้มทองกุล ฯ จึงไม่แปลกที่ทำไม
ช่วงแห่งการชุมนุมทางการเมืองของนายสนธิ ลิ้มทองกุล จึงมีเรื่องราวของจตุคามรามเทพเข้าไปเกี่ยวข้อง
หรือแม้แต่กระทั่งนายพรชัย วัฒนวิกย์กิจ ที่สถาปนิกจากเมืองหลวงเอามาเป็นที่ปรึกษาในการซ่อมแซม
ก็เป็นกรรมการคนหนึ่ง ไม่ใช่ผู้ออกแบบหลัก
ซึ่งคณะกรรมศิษยานุศิษย์ ชุดนี้มีหน้าที่เพียง
1) "ให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในส่วนที่เกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ
2) ดำเนินการอื่นใดตามความเหมาะสม
เมื่ออยู่ในรูปของขณะกรรมการ การให้คำปรึกษาว่าด้วยการซ่อมแซม ทำไมคุณพรชัย วัฒนวิกย์กิจ จึงไม่ไปตามหาคุณยุทธนา โมรากุล เพื่อขอ
แบบแปลนการก่อสร้าง การกล่าวอ้างว่าฝนรั่ว ไม่มีแบบแปลน มันไม่สมเหตุผล เอาเสียเหลย..
หรือว่ามีใครเป่ามนต์ให้ท่านหายไป..
"ผู้ออกแบบอาคารศาลหลักเมือง ยุทธนา โมรากุล" หายไปไหน
กล่าวถึงผู้ออกแบบอาคารหลักเมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งขณะนั้นท่านผู้ออกแบบเป็นหนึ่งในขณะกรรมการ ศิษฐ์ยานุศิษย์
(http://www.rakmuang30.com/board.html )
"อาคารหลัก ประกอบไปด้วยอาคาร ๕ หลัง หลังกลางเป็นที่ประดิษฐานหลักเมือง ลักษณะของการออกแบบมีศิลปะคล้ายศิลปะศรีวิชัย
วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ส่วนอาคารเล็ก ๔ หลัง ถือเป็นบริวารประจำทิศทั้ง ๔ เรียกว่า ศาลจตุโลกเทพ
ประกอบด้วย พระเสื้อเมือง , พระทรงเมือง , พระพรหมเมือง , และ พระบันดาลเมือง วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
เสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ผู้ออกแบบอาคารศาลหลักเมืองคือ ยุทธนา โมรากุล"
รวมถึงกับนายเอนก สิทธิประศาสตร์ และคนดังอื่น ๆ อีกหลายคนในสมัยนั้น ไม่เว้นแม้กระทั่งนายสนธิ ลิ้มทองกุล ฯ จึงไม่แปลกที่ทำไม
ช่วงแห่งการชุมนุมทางการเมืองของนายสนธิ ลิ้มทองกุล จึงมีเรื่องราวของจตุคามรามเทพเข้าไปเกี่ยวข้อง
หรือแม้แต่กระทั่งนายพรชัย วัฒนวิกย์กิจ ที่สถาปนิกจากเมืองหลวงเอามาเป็นที่ปรึกษาในการซ่อมแซม
ก็เป็นกรรมการคนหนึ่ง ไม่ใช่ผู้ออกแบบหลัก
ซึ่งคณะกรรมศิษยานุศิษย์ ชุดนี้มีหน้าที่เพียง
1) "ให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในส่วนที่เกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ
2) ดำเนินการอื่นใดตามความเหมาะสม
เมื่ออยู่ในรูปของขณะกรรมการ การให้คำปรึกษาว่าด้วยการซ่อมแซม ทำไมคุณพรชัย วัฒนวิกย์กิจ จึงไม่ไปตามหาคุณยุทธนา โมรากุล เพื่อขอ
แบบแปลนการก่อสร้าง การกล่าวอ้างว่าฝนรั่ว ไม่มีแบบแปลน มันไม่สมเหตุผล เอาเสียเหลย..
หรือว่ามีใครเป่ามนต์ให้ท่านหายไป..