เนื่องจากสมัยนี้ สังเกตว่า มีคนเป็นจำนวนมาก ไม่รู้จักการจัดการเงิน ให้พอใช้ ใช้กี่ส่วน /เก็บกี่ส่วน
แม้แต่คนใกล้ๆตัว จขกท.เอง ก็มีหนี้สินล้นพ้นตัว หลายคน (ประมาณ40%ขึ้นไป จากที่เคยเจอ)
เพราะอาจจะไม่รู้จักเรื่องเหล่านี้ หรือไม่ได้ตระหนัก
เช่น
ไม่รู้จักคำว่าจัดการเงิน
ไม่รู้จักคำว่าการประหยัด
ไม่รู้จักคำว่าการออมเงิน
ไม่รู้จักคำว่าค่าใช้จ่ายฉุกเฉิน
ไม่รู้จักคำว่าค่าใช้จ่ายประจำปี เป็นต้น
จนสุดท้ายก็หนี้สินล้นพ้นตัว ทั้งในระบบ/นอกระบบ ไม่มีใครช่วยได้
ยกตัวอย่าง คนที่ใกล้ๆตัวจขกท.ที่หนี้สินล้นพ้นตัว
1. นางสาวA(นามสมมุติ) มีอาชีพเป็นxxxราชการ เงินเดือนก็ไม่น้อย แต่เงินเดือนไม่เคยพอใช้ เที่ยวยืมคนโน้นคนนี้ เงินไม่พอใช้จึงนำเงินส่วนรวมของคนบริจาคกิจกรรมไปใช้ส่วนตัวแล้วพูดเท็จอย่างเนียนๆ เขาก็จับได้แต่ไม่อยากพูดอะไรไม่อยากฟ้องหัวหน้า จนคนเขาเอือมระอา มีอุปนิสัยติดหรู พูดจาหรูหรา กู้ทางสถาบันที่เขาปล่อยกู้
จนสุดท้ายบ้านที่ซื้อไว้ก็ต้องหลุดไปแล้ว เพราะผ่อนไม่ไหว ทั้งๆที่ยอดผ่อนนิ๊ดเดียว/เทียบกับเงินเดือน แต่เพราะหนี้อย่างอื่นถาโถมเข้ามา
2. นายZ(นามสมมุติ) มีอาชีพเป็นxxx เงินเดือนก็ไม่น้อย แต่เงินไม่เคยพอใช้ จึงกู้ทุกสถาบันการเงินที่เขาให้กู้ กู้ทุกทาง กู้ทั้งนอกระบบและกู้ในระบบ เที่ยวยืมเงินญาติสนิท มิตรสหาย ยืมเป็นหมื่นๆ ลืมแล้วไม่เคยคืน จนคนเขาเบื่อกันทั้งบาง ไม่อยากคบหาด้วย
จนสุดท้าย มักกู้ก้อนโน้นมาโปะก้อนนี้ จนในที่สุด เอาไม่อยู่ หนี้สินหลายทางเยอะเกินไป ชักหน้าไม่ถึงหลัง หนี้สินล้นพ้นตัว คงไม่มีใครช่วยอะไรได้
3. อีกหลายคนเยอะแยะ ไม่ได้ยกตัวอย่าง
วันนี้ผมจึงมีวิธีการจัดการเงิน ให้พอใช้ ใช้กี่ส่วน /เก็บกี่ส่วน เป็นแค่หนึ่งแนวทาง แบบรูปภาพ เข้าใจง่ายๆ มาให้ดูครับ ดังนี้
(ความเห็นส่วนตัว ผมว่า...การจัดการเงิน น่าจะมีหลายวิธี หลายแนวทาง คนที่เขามีเงินเยอะ หรือเป็นนักลงทุนระดับสูง เขาก็น่าจะมีวิธีจัดการเงินที่ดีขึ้น แตกต่างกันไปครับ)
เครดิต:ประยุกต์บทความบางส่วนจาก scblife
วิธีการจัดการเงิน ให้พอใช้ ใช้กี่ส่วน/เก็บกี่ส่วน
แม้แต่คนใกล้ๆตัว จขกท.เอง ก็มีหนี้สินล้นพ้นตัว หลายคน (ประมาณ40%ขึ้นไป จากที่เคยเจอ)
เพราะอาจจะไม่รู้จักเรื่องเหล่านี้ หรือไม่ได้ตระหนัก
เช่น
ไม่รู้จักคำว่าจัดการเงิน
ไม่รู้จักคำว่าการประหยัด
ไม่รู้จักคำว่าการออมเงิน
ไม่รู้จักคำว่าค่าใช้จ่ายฉุกเฉิน
ไม่รู้จักคำว่าค่าใช้จ่ายประจำปี เป็นต้น
จนสุดท้ายก็หนี้สินล้นพ้นตัว ทั้งในระบบ/นอกระบบ ไม่มีใครช่วยได้
ยกตัวอย่าง คนที่ใกล้ๆตัวจขกท.ที่หนี้สินล้นพ้นตัว
1. นางสาวA(นามสมมุติ) มีอาชีพเป็นxxxราชการ เงินเดือนก็ไม่น้อย แต่เงินเดือนไม่เคยพอใช้ เที่ยวยืมคนโน้นคนนี้ เงินไม่พอใช้จึงนำเงินส่วนรวมของคนบริจาคกิจกรรมไปใช้ส่วนตัวแล้วพูดเท็จอย่างเนียนๆ เขาก็จับได้แต่ไม่อยากพูดอะไรไม่อยากฟ้องหัวหน้า จนคนเขาเอือมระอา มีอุปนิสัยติดหรู พูดจาหรูหรา กู้ทางสถาบันที่เขาปล่อยกู้
จนสุดท้ายบ้านที่ซื้อไว้ก็ต้องหลุดไปแล้ว เพราะผ่อนไม่ไหว ทั้งๆที่ยอดผ่อนนิ๊ดเดียว/เทียบกับเงินเดือน แต่เพราะหนี้อย่างอื่นถาโถมเข้ามา
2. นายZ(นามสมมุติ) มีอาชีพเป็นxxx เงินเดือนก็ไม่น้อย แต่เงินไม่เคยพอใช้ จึงกู้ทุกสถาบันการเงินที่เขาให้กู้ กู้ทุกทาง กู้ทั้งนอกระบบและกู้ในระบบ เที่ยวยืมเงินญาติสนิท มิตรสหาย ยืมเป็นหมื่นๆ ลืมแล้วไม่เคยคืน จนคนเขาเบื่อกันทั้งบาง ไม่อยากคบหาด้วย
จนสุดท้าย มักกู้ก้อนโน้นมาโปะก้อนนี้ จนในที่สุด เอาไม่อยู่ หนี้สินหลายทางเยอะเกินไป ชักหน้าไม่ถึงหลัง หนี้สินล้นพ้นตัว คงไม่มีใครช่วยอะไรได้
3. อีกหลายคนเยอะแยะ ไม่ได้ยกตัวอย่าง
วันนี้ผมจึงมีวิธีการจัดการเงิน ให้พอใช้ ใช้กี่ส่วน /เก็บกี่ส่วน เป็นแค่หนึ่งแนวทาง แบบรูปภาพ เข้าใจง่ายๆ มาให้ดูครับ ดังนี้
(ความเห็นส่วนตัว ผมว่า...การจัดการเงิน น่าจะมีหลายวิธี หลายแนวทาง คนที่เขามีเงินเยอะ หรือเป็นนักลงทุนระดับสูง เขาก็น่าจะมีวิธีจัดการเงินที่ดีขึ้น แตกต่างกันไปครับ)
เครดิต:ประยุกต์บทความบางส่วนจาก scblife