ในฐานะที่ผมก็เป็นคนไทยคนหนึ่ง และเป็นลูกจ้าง ในหลายๆที่ เลยได้รู้ว่า คนรุ่นใหม่ และรุ่นเก่า ไม่มีความรู้ เรื่อง กฎหมายบ้านเมือง และ กฎหมายแรงงาน เรื่องแรก เราพบว่าเยาวชนมากหมายไม่ได้รับการปลูกฝัง กฎหมายบ้านเมือง มาตั้งแต่ต้น เลยพบว่า มีเยาวชนทำผิดกฎหมาย กันเป็นจำนวนไม่ใช่น้อย ไม่ว่าจะคดีเล็กไปจนถึงคดีใหญ่ ซื่งมีให้เห็นในสื่อต่างๆมากมาย สุดท้ายก็ไม่โทษว่า “ รู้เท่าไม่ถึงการณ์” ฟังดูสมเหตสมผลเพราะเราไม่มีการสอนเรื่องกฎหมายบ้านเมือง ในหลักสูตร ชั้นประถม และ มัธยม ทั้งๆที่ เป็นช่วงที่เด็กสามารถซึมซับ ความรู้ได้ดีที่สุดในช่วง ดังกล่าว เพราะว่า ถ้ามีการสอน หลักสูตร กฎหมายบ้านเมือง ในช่วง ชั้นประถม หรือ มัธยม เราสามารถ เอาข่าวที่อยู่ตามสือมาอ้างอิง การเรียนการสอนได้ “ ดีกว่าที่จะถามเด็กว่าโตขึ้นอยากเป็นอะไร” อยากเป็นตำรวจครับ ผมเคยตอบตอนเป็นเด็ก สุดท้ายไม่มีเงินเรียนเพราะบ้านจน เยาวชน ต้องรอจนกว่าจะไปถึงระดับอุดมศึกษา ถึงจะได้เรียน หรือไม่ก็ให้ นักเรียน ไปเรียนรู้เอง ใสสือ ต่างๆแล้ว คิดเอาเอง มาดูชั้นประถม มีวิชาอะไรบ้าง ผมไม่รู้เพราะเรียนโรงเรียนวัด คนิต อังกฤษ ภาษาไทย สปช.สลน.กพอ พละ เพราะบ้านจนมาก สมัยนั้น เด็กยังไม่ถึงวัยเรียน แต่สมัยนี้ บางคน ป.1 เล่นFacebookเป็นกันแล้วเพราะมีโอกาศเข้าถึง เพราะงั้นชั้นป.5 ขึ้นไปจนถึง ม.6 มันน่าจะเป็นช่วงที่ควรเรียนรู้ได้แล้ว เพราะว่า อังกฤษ คณิต ไทย และกฎหมายบ้านเมือง เป็นสิ่งที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวันตลอดเวลา ถ้ามีการเรียนรู้ในช่วงนี้ผมขอใช้คำว่า เดา ผมเดาว่าจะทำให้เด็กทำผิดกฎหมายน้อยลงเพราะรู้ว่าเป็นสิ่งที่ผิด ยังดีกว่าปล่อยให้ไปเรียนรู้เอาเอง แบบผิดๆ แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่มีข้อเสีย ข้อเสียเดียวที่ผมมองเห็น คือ เยาวชนอาจจะรู้ว่า ถ้ายังไม่อายุ18 จะข่มขื่นใครก็ได้เพราะกฎหมายเอาผิดไม่ได้
ข้อดี เยาวชนจะรู้ว่า จะต้องปฏิบัติตัวยังไงกับกฎหมาย และ ถูกกฎหมายปฏิบัติอย่างไรกับตัว จบมาซื้อรถแล้วออกแว้นเลยเป็นเรื่องของอนาคตครับ
หลักสูตร กฎหมายแรงงาน ก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่ควรเรียนรู้ เพราะผมได้เข้าไปทำงานหลายที่ ทั้งในกรุงเทพแระต่างจังหวัด ปัญหาที่ผมเจอคือ ถูกนายจ้างเอาเปรียบ มีทั้งทางตรงและทางอ้อมถึงจะบอกให้ไปร้องเรียนกรมแรงงาน ได้ก็เถอะครับ “แต่คนส่วนมากเรียนจบมากลับไม่รู้ว่าตัวเองจะต้องปฏิบัติตัวกับ นายจ้าง อย่างไร แย่สุด นายจ้างบางคน ไม่รู้ว่าจะต้องปฏิบัติกับลูกจ้างอย่างไร่ เพราะห่วงแต่ผลประโยชน์ เพราว่าไม่เคยได้รับการปลูกฝังมาตั้งแต่ต้น เพราะคิดว่า มันไม่สำคัญกับชีวิตประจำวัน จะรอให้ เยาวชน ไปเรียนรู้เอาเอง ก็เกรงว่าจะหมดกำลังใจในการทำงานไปซะก่อน” เพราะเรียนจบมาบางคนก็ทำงานไปเป็นลูกจ้างเลย บางคนจบมาก็ไปเป็นเจ้าของกิจการ<<อันนี้ยากหน่อยถ้าฐานะทางบ้านไม่ดี ในเมื่อ ทุกคนจบมาก็มีทางเลือกแค่4ทางเลือก คือ 1จบมา ไปเป็นลูกจ้าง 2 จบมาไปเป็นนายจ้าง 3 เป็นเจ้าของกิจการเอง4 จบมาไม่ทำอะไรเลย ที่สำคัญโอกาศไม่ได้มีให้กับทุกคน ลองนึกถึงการจ้างงานปัจจุบันสิครับลูกจ้างเก่าค่าแรงสูงขึ้น นายจ้างสู้ต้นทุนไม่ใหว เลย หาวิธีเลิกจ้างแบบถูกกฎหมาย เช่นบีบให้ออก เลยทำให้ คนจบมาใหม่ มีโอกาศได้มีงานทำ ปัญหาคนว่างงาน ส่วนแรกเกินจากคนรุ่นเก่าถูกปลดระวาง แล้วหางานไม่ได้เนื่องจากอายุ เกินที่ บริษัทหลายๆที่กำหนด ไม่รู้กำหนดกันทำไมแค่ 18ปีขึ้นไปหรือ เกณฑ์ทหารแล้ว ก็น่าจะพอแล้ว แต่กลับมีการกำหนด ช่วงอายุ18-35 เกินนี้แก่เกินแกงแล้วใช่มะเนี่ย ตรงกันข้ามแต่เหมือนกัน คนเก่าทำงานดี คนจบใหม่เลย หางานไม่ได้ ในปัจจุบัน คนอายุมากขึ้นหางานยากมาก 35+ไม่ต้องพูดถึง สาเหตุเกิดจาก ไม่ได้รับการศึกษาว่าควรจะปฏิบัติ ต่อกันเช่นไร ให้ คนไปเรียนรู้ศึกษาเอาเอง อย่างแรกที่ผมคิดคือ ควรมีหลักสูตรนี้ เพื่อเป็นการปลูกฟังพื้นฐาน จบไปให้ ใช้ในชีวิตรประจำวันจริง
(ผมจะไม่ถามเลยซักคำว่าวิชาใหนบ้างจบไปก็ไม่ได้ใช้ในชีวิตประจำวัน กลัวเจอดราม่า)
ข้อเสีย ของหลักสูตร กฎหมายแรงงาน นี้ก็มี เยาวชนอาจจะ ประท้วงนายจ้างเมื่อไหร่ก็ได้ที่ ถูกหรือไม่ถูก นายจ้างเอาเปรียบ แต่ ทุกคนมีสามัญสำนึก รู้จักพอเค้าจะประท้วงทำไม ตัดอนาคตตัวเองเปล่าๆ
สรุปท้ายสุดทั้ง2หัวข้อ
ข้อ1 เรื่องกฎหมายบ้านเมืองผมคิดว่าควรมีการปลูกฝังตั้งแต่ต้น น่าจะเป็นผลดีมากกว่า ที่จะปล่อยให้ไปเรียนรู้ด้วยตัวเองแบบผิดๆ โต้ขึ้นใครอยากไปเป็นตำรวจถือเป็นคนล่ะเรื่อง
ข้อ2 กฎหมายแรงงาน ใหนหลักช่วงใดช่วงหนึ่งของการเรียน เพราะจบไปได้ใช้จริง หรือ ให้ กรมแรงงานเข้ามามีบทบาทในการศึกษา เช่นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเรียนกับการทำงาน ช่วง ม.3 ม.6 ปวช ปวส ให้กรมแรงงานเข้ามาทำการสอบถาม ว่าอยากเรียนต่อหรือ ทำงานเลย แล้วอบรมกฎหมายแรงงาน ให้นักเรียน ชั่วงเวลานึง อาจจะเป็น อาทิตย์ เป็นเดือน เป็นปี ก็ตาม แต่ก็ต้องเก็บสถิตตินักเรียนที่จำไปว่า มีงานทำหรือว่างงาน โดยการเอาขึ้นบัญชีกับกรมแรงงานไว้ก่อนทันทีที่จบ ก็น่าจะติดตามผลการเล่าเรียนได้ไม่มากก็น้อย อย่างน้อย เป็นการสร้างความความสัมพันธ์ ระหว่าง เยาวชน กับกรมแรงงาน วันใหนตกงานเค้าก็จะนึกถึงกรมแรงงาน แระกรมจัดหางาน
ที่บ่นมาทั้งหมดนี้ ผมไม่รู้ว่ามันมีอยู่แล้วหรือผมคิดไปเอง อย่าให้ผมโมโหจนต้องใช้ ม.44 น่ะครับ อิอิอิอิ
คนไม่ดังนอนเขียน หลักสูตรการศึกษา ปัจจุบัน สมบรูณ์แบบจริงหรือ หรือ ว่าควรเพิ่มหลักสูตร พื้นฐาน
ข้อดี เยาวชนจะรู้ว่า จะต้องปฏิบัติตัวยังไงกับกฎหมาย และ ถูกกฎหมายปฏิบัติอย่างไรกับตัว จบมาซื้อรถแล้วออกแว้นเลยเป็นเรื่องของอนาคตครับ
หลักสูตร กฎหมายแรงงาน ก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่ควรเรียนรู้ เพราะผมได้เข้าไปทำงานหลายที่ ทั้งในกรุงเทพแระต่างจังหวัด ปัญหาที่ผมเจอคือ ถูกนายจ้างเอาเปรียบ มีทั้งทางตรงและทางอ้อมถึงจะบอกให้ไปร้องเรียนกรมแรงงาน ได้ก็เถอะครับ “แต่คนส่วนมากเรียนจบมากลับไม่รู้ว่าตัวเองจะต้องปฏิบัติตัวกับ นายจ้าง อย่างไร แย่สุด นายจ้างบางคน ไม่รู้ว่าจะต้องปฏิบัติกับลูกจ้างอย่างไร่ เพราะห่วงแต่ผลประโยชน์ เพราว่าไม่เคยได้รับการปลูกฝังมาตั้งแต่ต้น เพราะคิดว่า มันไม่สำคัญกับชีวิตประจำวัน จะรอให้ เยาวชน ไปเรียนรู้เอาเอง ก็เกรงว่าจะหมดกำลังใจในการทำงานไปซะก่อน” เพราะเรียนจบมาบางคนก็ทำงานไปเป็นลูกจ้างเลย บางคนจบมาก็ไปเป็นเจ้าของกิจการ<<อันนี้ยากหน่อยถ้าฐานะทางบ้านไม่ดี ในเมื่อ ทุกคนจบมาก็มีทางเลือกแค่4ทางเลือก คือ 1จบมา ไปเป็นลูกจ้าง 2 จบมาไปเป็นนายจ้าง 3 เป็นเจ้าของกิจการเอง4 จบมาไม่ทำอะไรเลย ที่สำคัญโอกาศไม่ได้มีให้กับทุกคน ลองนึกถึงการจ้างงานปัจจุบันสิครับลูกจ้างเก่าค่าแรงสูงขึ้น นายจ้างสู้ต้นทุนไม่ใหว เลย หาวิธีเลิกจ้างแบบถูกกฎหมาย เช่นบีบให้ออก เลยทำให้ คนจบมาใหม่ มีโอกาศได้มีงานทำ ปัญหาคนว่างงาน ส่วนแรกเกินจากคนรุ่นเก่าถูกปลดระวาง แล้วหางานไม่ได้เนื่องจากอายุ เกินที่ บริษัทหลายๆที่กำหนด ไม่รู้กำหนดกันทำไมแค่ 18ปีขึ้นไปหรือ เกณฑ์ทหารแล้ว ก็น่าจะพอแล้ว แต่กลับมีการกำหนด ช่วงอายุ18-35 เกินนี้แก่เกินแกงแล้วใช่มะเนี่ย ตรงกันข้ามแต่เหมือนกัน คนเก่าทำงานดี คนจบใหม่เลย หางานไม่ได้ ในปัจจุบัน คนอายุมากขึ้นหางานยากมาก 35+ไม่ต้องพูดถึง สาเหตุเกิดจาก ไม่ได้รับการศึกษาว่าควรจะปฏิบัติ ต่อกันเช่นไร ให้ คนไปเรียนรู้ศึกษาเอาเอง อย่างแรกที่ผมคิดคือ ควรมีหลักสูตรนี้ เพื่อเป็นการปลูกฟังพื้นฐาน จบไปให้ ใช้ในชีวิตรประจำวันจริง
(ผมจะไม่ถามเลยซักคำว่าวิชาใหนบ้างจบไปก็ไม่ได้ใช้ในชีวิตประจำวัน กลัวเจอดราม่า)
ข้อเสีย ของหลักสูตร กฎหมายแรงงาน นี้ก็มี เยาวชนอาจจะ ประท้วงนายจ้างเมื่อไหร่ก็ได้ที่ ถูกหรือไม่ถูก นายจ้างเอาเปรียบ แต่ ทุกคนมีสามัญสำนึก รู้จักพอเค้าจะประท้วงทำไม ตัดอนาคตตัวเองเปล่าๆ
สรุปท้ายสุดทั้ง2หัวข้อ
ข้อ1 เรื่องกฎหมายบ้านเมืองผมคิดว่าควรมีการปลูกฝังตั้งแต่ต้น น่าจะเป็นผลดีมากกว่า ที่จะปล่อยให้ไปเรียนรู้ด้วยตัวเองแบบผิดๆ โต้ขึ้นใครอยากไปเป็นตำรวจถือเป็นคนล่ะเรื่อง
ข้อ2 กฎหมายแรงงาน ใหนหลักช่วงใดช่วงหนึ่งของการเรียน เพราะจบไปได้ใช้จริง หรือ ให้ กรมแรงงานเข้ามามีบทบาทในการศึกษา เช่นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเรียนกับการทำงาน ช่วง ม.3 ม.6 ปวช ปวส ให้กรมแรงงานเข้ามาทำการสอบถาม ว่าอยากเรียนต่อหรือ ทำงานเลย แล้วอบรมกฎหมายแรงงาน ให้นักเรียน ชั่วงเวลานึง อาจจะเป็น อาทิตย์ เป็นเดือน เป็นปี ก็ตาม แต่ก็ต้องเก็บสถิตตินักเรียนที่จำไปว่า มีงานทำหรือว่างงาน โดยการเอาขึ้นบัญชีกับกรมแรงงานไว้ก่อนทันทีที่จบ ก็น่าจะติดตามผลการเล่าเรียนได้ไม่มากก็น้อย อย่างน้อย เป็นการสร้างความความสัมพันธ์ ระหว่าง เยาวชน กับกรมแรงงาน วันใหนตกงานเค้าก็จะนึกถึงกรมแรงงาน แระกรมจัดหางาน
ที่บ่นมาทั้งหมดนี้ ผมไม่รู้ว่ามันมีอยู่แล้วหรือผมคิดไปเอง อย่าให้ผมโมโหจนต้องใช้ ม.44 น่ะครับ อิอิอิอิ