กฎการย้อนเวลาที่ เมื่อไปเปลี่ยนอดีตแล้ว จะทำให้ปัจจุบัน กับ อนาคต จะเปลี่ยนตามเหตุที่ไปแก้ไขอดีต ถ้ายกตัวอย่างก็คือ
พ่อเกลียดสุนัข ห้ามเอาเข้าบ้าน เพราะ เคยโดนกัด พอย้อนเวลาไปแก้ไขอดีต กลับมาปัจจุบัน เจอว่า คุณพ่อไม่กลัวสุนัขแล้ว เล่นโยนไม้กับสุนัขด้วยสนุกสนาน ราวๆนี้
ทำไม ทบ.นี้ถึงไม่นิยมเอามาใช้อีก ทั้งที่มันก็เข้าใจง่ายดี
กลับไปใช้ ทบ.แบบแตกแขนงอนาคต => เกิดอีกอนาคต B. ที่มีพ่อไม่กลัวสุนัข ส่วนคุณพ่อคนเดิมก็เกลียดสุนัขตามเดิม ซึ่งเจอเข้าแล้วมันวุ่นวายซับซ้อนปวดหัวกว่ามาก แล้วหลังจากนั้นคนดูก็ต้องมาถกกันให้วุ่นวาย
ทำไม ปัจจุบันพวกวรรณกรรมไม่นิยมทฤษฎีย้อนเวลาแบบรีเซ็ต?
พ่อเกลียดสุนัข ห้ามเอาเข้าบ้าน เพราะ เคยโดนกัด พอย้อนเวลาไปแก้ไขอดีต กลับมาปัจจุบัน เจอว่า คุณพ่อไม่กลัวสุนัขแล้ว เล่นโยนไม้กับสุนัขด้วยสนุกสนาน ราวๆนี้
ทำไม ทบ.นี้ถึงไม่นิยมเอามาใช้อีก ทั้งที่มันก็เข้าใจง่ายดี
กลับไปใช้ ทบ.แบบแตกแขนงอนาคต => เกิดอีกอนาคต B. ที่มีพ่อไม่กลัวสุนัข ส่วนคุณพ่อคนเดิมก็เกลียดสุนัขตามเดิม ซึ่งเจอเข้าแล้วมันวุ่นวายซับซ้อนปวดหัวกว่ามาก แล้วหลังจากนั้นคนดูก็ต้องมาถกกันให้วุ่นวาย