บทสรุปโศกานาฎกรรมของเรือไททานิกครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์การเดินทางเรือนี้ หากว่าบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหาร กัปตัน ได้ทำการวางแผนอย่างเป็นระบบชัดเจนอย่างเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มแรก ดังเช่นเป้าหมายที่ถูกตั้งไว้ว่าจะให้เรือไททานิก ตั้งแต่การออกแบบและสร้างเรือไททานิก กฎเกณฑ์การเดินเรือ แนวทางปฎิบัติงานพนักงานลูกเรือทุกคน ตลอดจนถึงการฝึกซ้อมรักษาความปลอดภัยให้กับผู้โดยสารบนลำเรือ มีการคาดการณ์วิเคราะห์เหตุการณ์ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยแล้ว ย่อมที่จะทำให้ตัดสินใจภายหลังของทั้งตัวกัปตันน่าจะสามารถช่วยเหลือชีวิตผู้โดยสารมากกว่านี้หรือโศกานาฎกรรมครั้งนี้อาจไม่เหิดขึ้นหรือรุนแรงจนต้องมีผู้เสียชีวิตถึง 1500 กว่าคน การตัดสินใจที่ผิดพลาดเพียงเล็กน้อยแต่อาจนำมาซึ่งผลกระทบอันยิ่งใหญ่ เสียหายและรุนแรงได้ ขอเริ่มตั้งแต่
• ผู้สังเกตการณ์เรือควรที่จะใช้คนที่มี Professional สามารถวิเคราะห์ สังเกตวิสัยทัศน์ที่อยู่เบื้องหน้าได้ระยะไกล ไม่ใช่ใครก็ได้ต้องเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญและสามารถตัดสินใจแจ้งหรือไม่แจ้งให้กัปตันทราบตั้งแต่เริ่มแรก
• กัปตันสมิทควรที่จะมีการวางแผนวิธีการเดินเรือ และถ้ากัปตันฟังเสียงทัดทานและปรับลดความเร็วลงแทนที่เร่งความเร็วสูงสุด ก็จะทำให้ลดความเสียหายที่เกิดจากการชนของเรือไททานิกกับภูเขาน้ำแข็ง หากว่าเขาไม่มี bias และมั่นใจที่มากเกินไปแล้ว กัปตันผู้ซึ่งมีประสบการณ์การเดินเรือมากว่า 40 ปี น่าจะใช้ประสบการณ์และสัญชาตญาณในการแก้ไขปัญหาที่ดีกว่านี้ การตัดสินใจที่ผิดพลาดของเขาและไม่ยอมแก้ไขก่อนหน้านั้นนำมาซึ่งความสูญเสียและเสียใจให้กับสังคมและทุกคน เขาจบชีวิตไปพร้อมกับลำเรือไททานิก เพื่อสำนึกผิดในการกระทำต่อการตัดสินใจการปฎิบัติงานที่ความผิดพลาดจน ไม่ต้องที่จะมีชีวิตต่อไป การที่ผู้บริหารลงทุนกับสร้างเรือเป็นเงินมหาศาล ในสมัยนั้นแต่อุปกรณ์เล็กๆน้อยๆกลับมองข้าม ไม่ว่าจะเป็นเรือชูชีพ เสื้อชูชีพ ห่วงยางช่วยชีวิต นับการเป็นตัดสินใจที่ผิดพลาดในการบริหารงานทำให้เสียเม็ดเงินในการสร้างเรือจำนวนมาก จนสุดท้ายปั้นปลายชีวิตของอิสเมย์ถึงแม้ว่าเขาจะรอดชีวิต แต่ก็ต้องล้มละลายและอาศัยอยู่ในบ้านเพียงเล็กๆ
• แน่นอนว่าหากผู้บริหารประเมินถึงความปลอดภัยของผู้โดยสารก่อนเป็นอันดับแรก เรือชูชีพที่ควรจะมีถึง 35 ลำย่อมที่ช่วยชีวิตคนได้เกือบทั้งหมด แต่เพราะความสะเพร่าและละเลยต่อความปลอดภัย ทำให้เขาได้ตัดลดเรือเหลือเพียง 20 ลำ ผู้รอดชีวิตจึงมีไม่ถึง 1 ในสามของจำนวนคนทั้งหมด
การตัดสินใจดีและเหมาะสมเปรียบเสมือนสมองของการดำเนินงานและปฎิบัติงานในการควบคุมทิศทางให้องค์การจะประสบความสำเร็จและสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้คาดกาณ์สถานการณ์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต พินิจวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของแต่ละทางเลือกว่าทางแก้ไขใดเหมาะสมที่สุด ดีที่สุดและมีประโชยน์ที่สุดและสร้างความพอใจให้เกิดขึ้นกับองค์กร โดยผู้ที่จะตัดสินใจได้ดีนั้นจะต้องมีความเข้าใจถึงความสำคัญของการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ และเลือกใช้เครื่องมือช่วยในการตัดสินใจให้เหมาะสม การตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีความสำคัญต่อการดำรงอยู่หรืออนาคตขององค์กร ความอยู่รอดอย่างมั่นคงและเจริญเติบโตขององค์กร มีประสิทธิภาพในการแข่งขันและพร้อมรับมือกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่แตกต่างไป ทั้งนี้ผู้บริหารจำเป็นต้องตัดสินใจว่าจะทำกิจกรรมอะไรต่อไป อย่างไรบ้าง แก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเฉียบคมและมองปัญหาให้ทะลุ พร้อมทั้งมองผลกระทบรอบด้าน คุณสมบัติที่สำคัญนี้จะนำไปสู่การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้องค์กรสามารถทำงานได้อย่างราบรื่นและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
ข้อสรุป Titanic
• ผู้สังเกตการณ์เรือควรที่จะใช้คนที่มี Professional สามารถวิเคราะห์ สังเกตวิสัยทัศน์ที่อยู่เบื้องหน้าได้ระยะไกล ไม่ใช่ใครก็ได้ต้องเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญและสามารถตัดสินใจแจ้งหรือไม่แจ้งให้กัปตันทราบตั้งแต่เริ่มแรก
• กัปตันสมิทควรที่จะมีการวางแผนวิธีการเดินเรือ และถ้ากัปตันฟังเสียงทัดทานและปรับลดความเร็วลงแทนที่เร่งความเร็วสูงสุด ก็จะทำให้ลดความเสียหายที่เกิดจากการชนของเรือไททานิกกับภูเขาน้ำแข็ง หากว่าเขาไม่มี bias และมั่นใจที่มากเกินไปแล้ว กัปตันผู้ซึ่งมีประสบการณ์การเดินเรือมากว่า 40 ปี น่าจะใช้ประสบการณ์และสัญชาตญาณในการแก้ไขปัญหาที่ดีกว่านี้ การตัดสินใจที่ผิดพลาดของเขาและไม่ยอมแก้ไขก่อนหน้านั้นนำมาซึ่งความสูญเสียและเสียใจให้กับสังคมและทุกคน เขาจบชีวิตไปพร้อมกับลำเรือไททานิก เพื่อสำนึกผิดในการกระทำต่อการตัดสินใจการปฎิบัติงานที่ความผิดพลาดจน ไม่ต้องที่จะมีชีวิตต่อไป การที่ผู้บริหารลงทุนกับสร้างเรือเป็นเงินมหาศาล ในสมัยนั้นแต่อุปกรณ์เล็กๆน้อยๆกลับมองข้าม ไม่ว่าจะเป็นเรือชูชีพ เสื้อชูชีพ ห่วงยางช่วยชีวิต นับการเป็นตัดสินใจที่ผิดพลาดในการบริหารงานทำให้เสียเม็ดเงินในการสร้างเรือจำนวนมาก จนสุดท้ายปั้นปลายชีวิตของอิสเมย์ถึงแม้ว่าเขาจะรอดชีวิต แต่ก็ต้องล้มละลายและอาศัยอยู่ในบ้านเพียงเล็กๆ
• แน่นอนว่าหากผู้บริหารประเมินถึงความปลอดภัยของผู้โดยสารก่อนเป็นอันดับแรก เรือชูชีพที่ควรจะมีถึง 35 ลำย่อมที่ช่วยชีวิตคนได้เกือบทั้งหมด แต่เพราะความสะเพร่าและละเลยต่อความปลอดภัย ทำให้เขาได้ตัดลดเรือเหลือเพียง 20 ลำ ผู้รอดชีวิตจึงมีไม่ถึง 1 ในสามของจำนวนคนทั้งหมด
การตัดสินใจดีและเหมาะสมเปรียบเสมือนสมองของการดำเนินงานและปฎิบัติงานในการควบคุมทิศทางให้องค์การจะประสบความสำเร็จและสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้คาดกาณ์สถานการณ์และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต พินิจวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของแต่ละทางเลือกว่าทางแก้ไขใดเหมาะสมที่สุด ดีที่สุดและมีประโชยน์ที่สุดและสร้างความพอใจให้เกิดขึ้นกับองค์กร โดยผู้ที่จะตัดสินใจได้ดีนั้นจะต้องมีความเข้าใจถึงความสำคัญของการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ และเลือกใช้เครื่องมือช่วยในการตัดสินใจให้เหมาะสม การตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีความสำคัญต่อการดำรงอยู่หรืออนาคตขององค์กร ความอยู่รอดอย่างมั่นคงและเจริญเติบโตขององค์กร มีประสิทธิภาพในการแข่งขันและพร้อมรับมือกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่แตกต่างไป ทั้งนี้ผู้บริหารจำเป็นต้องตัดสินใจว่าจะทำกิจกรรมอะไรต่อไป อย่างไรบ้าง แก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเฉียบคมและมองปัญหาให้ทะลุ พร้อมทั้งมองผลกระทบรอบด้าน คุณสมบัติที่สำคัญนี้จะนำไปสู่การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้องค์กรสามารถทำงานได้อย่างราบรื่นและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย