สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 35
ภัยร้ายใดๆ ไม่เท่า ภัยธรรมกาย และ กรรมการ มหาเถรสมาคม
บางท่าน ที่ปกป้อง ให้การช่วยเหลือ นายไชยบูลย์ สุทธิผล
การที่นายไชยบูลย์ เป็นผู้ต้องหา มีคดีมากมาย และได้หลบหนี
ไม่ยอมออกมารับทราบข้อกล่าวหา มาตั้งแต่ต้น โดยการ อ้างว่าป่วย
แต่หลังจาก การหลบเลี่ยงด้วยวิธีการต่างๆ จน จนท. เข้าตรวจค้น
กลับปรากฎชัดแจ้ง ว่า นายไชยบุลย์ หลบหนี ออกไปจากห้อง
ที่เคยนำเสนอ ออกสื่อว่าป่วย จนท.ไม่พบตัว
แต่สาวก ธรรมกาย ยังคงโหมโฆษณา ว่ารัฐกลั่นแกล้ง คนดีๆ
คนดีที่เป็นเจ้าลัทธิภัยร้ายของประเทศ อ้างตัวเอง บริสุทธิ์
คนแบบ นายไชยบูลย์ เป็นเข่นไร แม้แต่เด็กๆ ก็น่าจะรู้
อาชญากร ย่อมต้องกลัว จนท. กลัวกฎหมาย เขาจึงต้องหนี
สมเด็จพระสังฆราชฯพระองค์ที่ 19 เคยตรัสไว้ ว่า
ธรรมกายเป็นภัยร้าย ทำลายพระพุทธศาสนา จริงแท้
รวมทั้ง ยังมี กรรมการใน มหาเถรสมาคม ที่ได้รับประโยชน์
จากนาย ไชยบูลย์ แห่งธรรมกาย จนบัดนี้ ยังไม่ยอม
ตัดสิน ให้สึก นายไชยบูลย์ ตามข้อ 3 มาตรา 21
เป็นที่แน่ชัดว่า ใน มส. เอง มีการนำหลัก เสียงข้างมาก
มาใช้แทน พระธรรมวินัยของพระพุทธองค์
นายไชยบูลย์ แห่งธรรมกาย ถึงยังรอดตัวมาได้ จนปัจจุบัน.
บางท่าน ที่ปกป้อง ให้การช่วยเหลือ นายไชยบูลย์ สุทธิผล
การที่นายไชยบูลย์ เป็นผู้ต้องหา มีคดีมากมาย และได้หลบหนี
ไม่ยอมออกมารับทราบข้อกล่าวหา มาตั้งแต่ต้น โดยการ อ้างว่าป่วย
แต่หลังจาก การหลบเลี่ยงด้วยวิธีการต่างๆ จน จนท. เข้าตรวจค้น
กลับปรากฎชัดแจ้ง ว่า นายไชยบุลย์ หลบหนี ออกไปจากห้อง
ที่เคยนำเสนอ ออกสื่อว่าป่วย จนท.ไม่พบตัว
แต่สาวก ธรรมกาย ยังคงโหมโฆษณา ว่ารัฐกลั่นแกล้ง คนดีๆ
คนดีที่เป็นเจ้าลัทธิภัยร้ายของประเทศ อ้างตัวเอง บริสุทธิ์
คนแบบ นายไชยบูลย์ เป็นเข่นไร แม้แต่เด็กๆ ก็น่าจะรู้
อาชญากร ย่อมต้องกลัว จนท. กลัวกฎหมาย เขาจึงต้องหนี
สมเด็จพระสังฆราชฯพระองค์ที่ 19 เคยตรัสไว้ ว่า
ธรรมกายเป็นภัยร้าย ทำลายพระพุทธศาสนา จริงแท้
รวมทั้ง ยังมี กรรมการใน มหาเถรสมาคม ที่ได้รับประโยชน์
จากนาย ไชยบูลย์ แห่งธรรมกาย จนบัดนี้ ยังไม่ยอม
ตัดสิน ให้สึก นายไชยบูลย์ ตามข้อ 3 มาตรา 21
เป็นที่แน่ชัดว่า ใน มส. เอง มีการนำหลัก เสียงข้างมาก
มาใช้แทน พระธรรมวินัยของพระพุทธองค์
นายไชยบูลย์ แห่งธรรมกาย ถึงยังรอดตัวมาได้ จนปัจจุบัน.
ความคิดเห็นที่ 16
ภัยพระศาสนา นิพพานเป็นอัตตา
ทำสัทธรรมปฏิรูป ภัยร้ายของพระศาสนา
ทำสัทธรรมปฏิรูป ภัยร้ายของพระศาสนา
-----------------------------------------------------------
แถลงการณ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่องปกป้องพระธรรมปิฎกและหนังสือกรณีธรรมกาย
-----------------------------------------------------------
1. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยยืนยันเจตนาที่ชัดเจนในการปกป้องพระธรรมปิฎก
และขอร้องให้รัฐบาลดำเนินการปกป้องพระธรรมปิฎก
2. มหาวิทยาลัยยืนยันความถูกต้องของหลักการที่ว่า " นิพพานเป็นอนัตตา " ดังที่ปรากฎอยู่ในพระไตรปิฎกและอรรกถา
และเห็นสอดคล้องในหลักการเดียวกันกับที่พระธรรมปิฎกเสนอในหนังสือชื่อ "นิพพานเป็นอนัตตา" และ "กรณีธรรมกาย"
3. ในกรณีเจ้าอาวาสพระธรรมกาย ทางมหาวิทยาลัย ฯ เสนอให้ดำเนินตามหลักพระธรรมวินัย กฎหมายบ้านเมือง กฎมหาเถรสมาคม
ว่าด้วยการลงนิคหกรรม
แถลงการณ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่องปกป้องพระธรรมปิฎกและหนังสือกรณีธรรมกาย
-----------------------------------------------------------
1. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยยืนยันเจตนาที่ชัดเจนในการปกป้องพระธรรมปิฎก
และขอร้องให้รัฐบาลดำเนินการปกป้องพระธรรมปิฎก
2. มหาวิทยาลัยยืนยันความถูกต้องของหลักการที่ว่า " นิพพานเป็นอนัตตา " ดังที่ปรากฎอยู่ในพระไตรปิฎกและอรรกถา
และเห็นสอดคล้องในหลักการเดียวกันกับที่พระธรรมปิฎกเสนอในหนังสือชื่อ "นิพพานเป็นอนัตตา" และ "กรณีธรรมกาย"
3. ในกรณีเจ้าอาวาสพระธรรมกาย ทางมหาวิทยาลัย ฯ เสนอให้ดำเนินตามหลักพระธรรมวินัย กฎหมายบ้านเมือง กฎมหาเถรสมาคม
ว่าด้วยการลงนิคหกรรม
แสดงความคิดเห็น
ว่าด้วยภัยภายนอกและภัยภายในในพระพุทธศาสนา ท่านมีความเห็นว่าจะพ้นภัยทั้งสองอย่างไรบ้าง???
อนวสฺสุตจิตฺตสฺส อนนฺวาหตเจตโส
ปุญฺญปาปปหีนสฺส นตฺถิ ชาครโต ภยํ.
ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว มีบุญและบาปอันละได้แล้ว ตื่นอยู่ ย่อมไม่มีภัย.
(พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๒๐.
ภัย คือ สิ่งที่น่ากลัว สิ่งที่อันตราย มี ๒ ประเภท คือภัยภายใน กับภัยภายนอก ภัยภายใน คือภัยที่เป็นตัวกิเลส ซึ่งทำให้บุคคลทำกรรมต่างๆ ในทางที่ไม่ดี เป็นอกุศลกรรม เช่น ราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น ส่วนภัยภายนอกก็คือภัยต่างๆ ที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย และอัคคีภัย เป็นต้น ภัยนี้น่ากลัวสำหรับสัตว์โลก เมื่อใดประสบพบเจอแล้ว เขาก็อยู่ในห้วงแห่งความทุกข์และเป็นอันตรายอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามแต่ ภัยภายนอกจัดเป็นสาธารณภัย คือบุคคลทุกคน ตั้งแต่ปุถุชนถึงอริยบุคคล อาจต้องประสบพบเจอและเสวยทุกข์ยากเหมือนกัน
ส่วนภัยภายในนั้น ปุถุชนที่หนาแน่นไปด้วยกิเลสเท่านั้นที่เป็นผู้ประสบพบเจอ ต้องเสวยผลของกิเลสที่เกิดขึ้น จึงอยู่ในห้วงแห่งอันตรายตลอดเวลา หากเขาเป็นผู้มีใจอ่อนแอต่อกิเลสจนตกอยู่ในอำนาจของมันแล้ว ชีวิตของเขาก็จะยิ่งประสพพบกับความทุกข์อย่างแสนสาหัสยิ่งขึ้น สำหรับพระอริยบุคคลโดยเฉพาะพระอรหันต์ ซึ่งท่านตัดกิเลสหมดสิ้นเชิงแล้ว จะไม่มีภัยภายในเกิดขึ้น เพราะจิตใจของท่านไม่ชุ่มด้วยราคะ ไม่มีโทสะมากระทบกระทั่ง ทั้งมีบุญและบาปที่ละได้หมดแล้วนั่นเอง ภัยภายในประเภทราคะ โทสะ และโมหะ เป็นต้น จึงไม่มีโอกาสอุบัติขึ้นแก่ท่านเลย
ฉะนั้น ผู้กลัวต่อภัยภายในพึงบำเพ็ญธรรม เช่น ศีล สมาธิ ปัญญา สำหรับเป็นเครื่องระงับดับภัยภายในดังกล่าวแล้วเถิด.
จาก : พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๓ ฉบับมาตรฐาน (โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง)