http://eng.sut.ac.th/ce/oldce/mechmat50/mech5a.pdf
จากเอกสารนี้ ตัวอย่างที่ 5-3 ครับ
คือผมจะสร้างชุดทดลองขึ้นมาชุดหนึ่งโดยมีลักษณะประมาณในตัวอย่าง เป็นชุดทดลองเพื่อทดสอบแรงบิดในเพลาโดยใช้ทอร์กเซ็นเซอร์
และตรงจุดA ติดเข้ากับชุดเกียร์อัตราทด 1 : 60 ลักษณะตามรูปข้างล่าง โดยสลับให้เฟืองเล็กเป็นเฟืองขับ และเฟืองใหญ่เป็นเฟืองตาม(สลับกับโจทย์)
และขนาดเพลาคือ1นิ้ว และยาว 300 mm ทั้ง2เพลา วัสดุเป็นอลูมิเนียม
(วาดประกอบคร่าวๆ ลวกไปหน่อยขออภัยด้วยฮะ)
แต่มีปัญหาตรงที่ว่าโจทย์กำหนดไว้ว่ามุมบิดสูงสุดไม่เกิน 0.1 rad เราจะต้องใส่มุมบิดหรือแรงบิดเข้าไปยังไงในชุดทดลองจริงครับ
เพื่อให้มุมบิดของทั้งชุด= 0.1rad
เราจะสามารถหมุนชุดเกียร์1รอบ เพื่อให้เพลาขับบิดไป6องศา (0.105rad) ได้เลยรึเปล่าครับ แต่การที่เพลาขับบิดไป6องศา(6/360) ความเค้นน่าจะเกินจุดครากแน่นอนและเพลาคงจะเสียรูป ดูแล้วไม่น่าจะใช่วิธีที่ถูกต้อง แต่ถ้าวิธีนี้ถูกรบกวนท่านผู้รู้ช่วยอธิบายให้หน่อยครับว่ากลไกการบิดของมันเป็นยังไงและทำไมเพลาถึงไม่เสียรูป
ขอบคุณครับ
อยากสอบถามเรื่องการใส่แรงบิด หรือมุมบิดลงในอุปกรณ์ครับ
จากเอกสารนี้ ตัวอย่างที่ 5-3 ครับ
คือผมจะสร้างชุดทดลองขึ้นมาชุดหนึ่งโดยมีลักษณะประมาณในตัวอย่าง เป็นชุดทดลองเพื่อทดสอบแรงบิดในเพลาโดยใช้ทอร์กเซ็นเซอร์
และตรงจุดA ติดเข้ากับชุดเกียร์อัตราทด 1 : 60 ลักษณะตามรูปข้างล่าง โดยสลับให้เฟืองเล็กเป็นเฟืองขับ และเฟืองใหญ่เป็นเฟืองตาม(สลับกับโจทย์)
และขนาดเพลาคือ1นิ้ว และยาว 300 mm ทั้ง2เพลา วัสดุเป็นอลูมิเนียม
(วาดประกอบคร่าวๆ ลวกไปหน่อยขออภัยด้วยฮะ)
แต่มีปัญหาตรงที่ว่าโจทย์กำหนดไว้ว่ามุมบิดสูงสุดไม่เกิน 0.1 rad เราจะต้องใส่มุมบิดหรือแรงบิดเข้าไปยังไงในชุดทดลองจริงครับ
เพื่อให้มุมบิดของทั้งชุด= 0.1rad
เราจะสามารถหมุนชุดเกียร์1รอบ เพื่อให้เพลาขับบิดไป6องศา (0.105rad) ได้เลยรึเปล่าครับ แต่การที่เพลาขับบิดไป6องศา(6/360) ความเค้นน่าจะเกินจุดครากแน่นอนและเพลาคงจะเสียรูป ดูแล้วไม่น่าจะใช่วิธีที่ถูกต้อง แต่ถ้าวิธีนี้ถูกรบกวนท่านผู้รู้ช่วยอธิบายให้หน่อยครับว่ากลไกการบิดของมันเป็นยังไงและทำไมเพลาถึงไม่เสียรูป
ขอบคุณครับ