คือตอนนี้ รถสายไปต่างอำเภอเช่น อ.สันทราย อ.ดอยสะเก็ด อ.แม่ริม อ.สันกำแพง ฯลฯ ที่จะแยกไปตามสีต่างๆเช่น ขาว เขียว เหลือง ฯลฯ ...
ส่วนไอ้รถสองแถวแดงช่างหัวมัน
คือรถสายพวกนี้มีค่ารถชัดเจน ขึ้นตรงไหนลงตรงไหน มีราคาบอก ซึ่งเช้าๆวันทำงาน และช่วงเย็นไปจนถึงค่ำๆ จะพีคมากๆ
สมัยก่อนที่นะมีกฎหมายควบคุม ก็จะนั่งในรถราวๆแถวละ 6-7 คน คือ 12-14 คน โหนอีกราวๆ 4-5 คน พีคสุดคือ 6 คน ถ้ากลางคืนรอบสุดท้าย อาจจะมีนั่งหลังคาอีกคือ 5-6 คน
ก็มีตกไปตายหงส์ตายห่านบ้าง หลวงท่านจึงห้ามโหน
แค่สมมติว่า จากต้นทางราวๆ 30 กิโลถึงในเมือง ถ้าเราห้ามโหน บางครั้งถ้ามีผู้หญิง คนแก่ นักเรียนหญิงที่โหนไม่ได้ สมัยก่อน ถ้ามีผู้ชายนั่งในรถ ก็มักจะสละที่ให้นั่งแล้วตัวเองออกมาโหน
ตอนนี้ทำงั้นไม่ได้ ผู้ชายก็ไม่สามารถลงรถสละให้ผู้หญิงนั่งแล้วตัวเองหารถใหม่ ผู้หญิงเมื่อขึ้นไม่ได้ ก็รอคันถัดไป แต่มันก็เต็มอีก
รถหลายๆคันก็มีม้านั่งกลางให้ ซึ่งรถาองแถวที่นี่ หลังคาเตี้ยมากๆ มุดไปนั่งกลางได้แค่ 2 คนก็จะเต็มละ มุดยาก
เคยเห็นรถสายหลายจังหวัด เค้าใช้หลังคาสูงแบบนี้อ้ะ
จขกท นั่งแล้วยังรู้สึกว่าเออเฮ้ย เข้าในสบาย ไม่ต้องเดินก้มให้ลำบาก ถ่หลังคาสูง รถดูโปร่งดีด้วย
ตอนนี้ยังสงสัย สมมติว่าปกติจากที่ต้นทางบ้าน จขกท คือ อ.สันทราย เชียงใหม่ ถ้ามีรถวิ่งรอบเช้าราวๆ ชั่วโมงละ 6 คัน รอคันละ 10 นาที ถ้าสมมติว่าโหนได้เต็มอัตราศึก คือคันนึงจุ ผดส 20 ทั้งนั่งหน้านั่งหลังและโหน
ช่วงเวลาเร่งด่วนที่นี่เริ่มตั้งแต่ 6:30 - 8:30 ก็จะพา ผดส ไปได้ราวๆ 250 คน ในช่วง 2 ชั่วโมงนี้ ซึ่งก็แทบไม่พอ
แต่ถ้าเราจำกัดการโหน จขกท คิดยังไงก็ไม่น่าไหว คงต้องออกจากบ้านตั้งแต่ 5:30 แหงๆ ไม่งั้นสาย ใครเจอรถแดงอีกทอด นั่งไปทำงาน อาจจะถึงขั้นอวสาน ไปทำงานสาย
รถเมล์ก็คนเยอะด้วยนะ ช่วงเช้านี้ บางทีก็ไม่พอ ผดส นะ
เลยมาคิดเล่นๆว่า สมมติ ถ้าสหกรณ์เรียกเก็บค่าคิวรถต่ำลง รถสายน่าจะเพิ่มขึ้น น่าจะเพียงพอต่อ ผดส
รวมถึงถ้าใช้ม้านั่งกลาง ก็น่าจะมีการเปลี่ยนหลังคารถจากาองแถวหลังคาเตี้ย เป็นหลังคาสูง จะได้เข้าออกสบาย
ส่วนรถวิ่งไกลๆเช่น เชียงใหม่-ฝาง เชียงใหม่-เวียงป่าเป้า (เวียงกาหลง) ที่เค้าได้ option ขนส่งเช่นส่งมอเตอร์ไซค์ขึ้นหลังคาไปส่งที่ไกลๆ อันนี้ใช้หลังคาเดิมได้ เพราะ ผดส น้อย ต้องหาเงินอย่างอื่นด้วย
ไม่รู้ออกกฎหมายห้ามโหนมาใช้ แค่ไหงไม่เตรียมมาตรการรองรับไม่รุ
ที่เชียงใหม่ - ออกกฎห้ามห้อยโหนรถสาย แบบนี้บางคนอาจจะไปทำงานไม่ทันเลยก็ได้อ้ะ (อยากได้หลังคาสูงๆ)
คือตอนนี้ รถสายไปต่างอำเภอเช่น อ.สันทราย อ.ดอยสะเก็ด อ.แม่ริม อ.สันกำแพง ฯลฯ ที่จะแยกไปตามสีต่างๆเช่น ขาว เขียว เหลือง ฯลฯ ...
ส่วนไอ้รถสองแถวแดงช่างหัวมัน
คือรถสายพวกนี้มีค่ารถชัดเจน ขึ้นตรงไหนลงตรงไหน มีราคาบอก ซึ่งเช้าๆวันทำงาน และช่วงเย็นไปจนถึงค่ำๆ จะพีคมากๆ
สมัยก่อนที่นะมีกฎหมายควบคุม ก็จะนั่งในรถราวๆแถวละ 6-7 คน คือ 12-14 คน โหนอีกราวๆ 4-5 คน พีคสุดคือ 6 คน ถ้ากลางคืนรอบสุดท้าย อาจจะมีนั่งหลังคาอีกคือ 5-6 คน
ก็มีตกไปตายหงส์ตายห่านบ้าง หลวงท่านจึงห้ามโหน
แค่สมมติว่า จากต้นทางราวๆ 30 กิโลถึงในเมือง ถ้าเราห้ามโหน บางครั้งถ้ามีผู้หญิง คนแก่ นักเรียนหญิงที่โหนไม่ได้ สมัยก่อน ถ้ามีผู้ชายนั่งในรถ ก็มักจะสละที่ให้นั่งแล้วตัวเองออกมาโหน
ตอนนี้ทำงั้นไม่ได้ ผู้ชายก็ไม่สามารถลงรถสละให้ผู้หญิงนั่งแล้วตัวเองหารถใหม่ ผู้หญิงเมื่อขึ้นไม่ได้ ก็รอคันถัดไป แต่มันก็เต็มอีก
รถหลายๆคันก็มีม้านั่งกลางให้ ซึ่งรถาองแถวที่นี่ หลังคาเตี้ยมากๆ มุดไปนั่งกลางได้แค่ 2 คนก็จะเต็มละ มุดยาก
เคยเห็นรถสายหลายจังหวัด เค้าใช้หลังคาสูงแบบนี้อ้ะ
จขกท นั่งแล้วยังรู้สึกว่าเออเฮ้ย เข้าในสบาย ไม่ต้องเดินก้มให้ลำบาก ถ่หลังคาสูง รถดูโปร่งดีด้วย
ตอนนี้ยังสงสัย สมมติว่าปกติจากที่ต้นทางบ้าน จขกท คือ อ.สันทราย เชียงใหม่ ถ้ามีรถวิ่งรอบเช้าราวๆ ชั่วโมงละ 6 คัน รอคันละ 10 นาที ถ้าสมมติว่าโหนได้เต็มอัตราศึก คือคันนึงจุ ผดส 20 ทั้งนั่งหน้านั่งหลังและโหน
ช่วงเวลาเร่งด่วนที่นี่เริ่มตั้งแต่ 6:30 - 8:30 ก็จะพา ผดส ไปได้ราวๆ 250 คน ในช่วง 2 ชั่วโมงนี้ ซึ่งก็แทบไม่พอ
แต่ถ้าเราจำกัดการโหน จขกท คิดยังไงก็ไม่น่าไหว คงต้องออกจากบ้านตั้งแต่ 5:30 แหงๆ ไม่งั้นสาย ใครเจอรถแดงอีกทอด นั่งไปทำงาน อาจจะถึงขั้นอวสาน ไปทำงานสาย
รถเมล์ก็คนเยอะด้วยนะ ช่วงเช้านี้ บางทีก็ไม่พอ ผดส นะ
เลยมาคิดเล่นๆว่า สมมติ ถ้าสหกรณ์เรียกเก็บค่าคิวรถต่ำลง รถสายน่าจะเพิ่มขึ้น น่าจะเพียงพอต่อ ผดส
รวมถึงถ้าใช้ม้านั่งกลาง ก็น่าจะมีการเปลี่ยนหลังคารถจากาองแถวหลังคาเตี้ย เป็นหลังคาสูง จะได้เข้าออกสบาย
ส่วนรถวิ่งไกลๆเช่น เชียงใหม่-ฝาง เชียงใหม่-เวียงป่าเป้า (เวียงกาหลง) ที่เค้าได้ option ขนส่งเช่นส่งมอเตอร์ไซค์ขึ้นหลังคาไปส่งที่ไกลๆ อันนี้ใช้หลังคาเดิมได้ เพราะ ผดส น้อย ต้องหาเงินอย่างอื่นด้วย
ไม่รู้ออกกฎหมายห้ามโหนมาใช้ แค่ไหงไม่เตรียมมาตรการรองรับไม่รุ