สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 6
สวัสดีครับ น้อง Prince
เรือรบของไทย ปกติจะสำรองอาหารในเรือไว้ออกทะเล แบบเร่งด่วนกรณีเกิดสงคราม หรือภัยพิบัติ มากน้อยแค่ไหน.
ปกติแล้ว เรือรบจะมีห้องเย็นสำหรับเก็เสบียงอาหารสำรองได้ 45 - 60 วัน เป็นอย่างมากครับ
แต่ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาเมื่อเกิดภัยพิบัติที่จะต้องไปลอยลำ standby ช่วยเหลือประชาชน
ก็ยังมีโอกาสที่จะจ่ายเสบียงได้ครับ ดังนั้นในทางปฏิบัติก็จะจ่ายเสบียงมาเก็บใว้แค่ 5 - 10 วัน
เป็นอย่างมาก ส่วนกรณีสงครามนั้น ระเบียบปฏิบัติก็จะต้องขึ้นกับกรมส่งกำลังบำรุงทหารเรือ
ว่าสถานการณ์ขณะนั้นมีความเร่งด่วนเพียงใด ต้องจ่ายเสบียงในอัตราใด
แบบมีติดเรือไว้ตลอดถ้าไม่มีอะไร ไม่มีสงครามก็ทำกิน กับบนเรือ ใช้อาหารที่เก็บไว้บนเรือ
ทำกินกันไปเรื่อยๆ พอหมดก็เบิกใหม่ หรือไม่
จะไม่มีการติดอาหารใว้ในเรือครับ สิ่งที่จะเก็บใว้ได้นาน และ มาก คือข้าวสาร น้ำจืด และ เครื่องปรุง (น้ำปลา น้ำตาล เกลือ)
ส่วนของสดทุกประเภทจะวางแผนจ่ายเสบียงทุก 3 5 หรือ 10 วัน แล้วแต่ภารกิจขณะนั้นครับ
ปกติ ทหารเรือได้กินอาหารบนเรือ ยามปกติ หรือต้องซื้อกินเองในค่าย ในหน่วย
แล้วเวลาออกเดินทาง ไปทำภารกิจต่าง หรือลาดตระเวณเค้าจะจัดอาหาร แต่ละวัน ให้กินแบบไหนบ้าง
กินรวมกัน หรือแยกเป็นจานหรือ เอาเบี้ยเลี้ยงมาตีเป็นค่าอาหารแล้วพ่อครัวทำให้กิน
หากเรือจอด (ไม่มีภารกิจ) ทหารเรือทุกคนก็จะได้กินอาหารบนเรือทุกมื้อครับ เพราะตัดเบี้ยเลี้ยงไปแล้ว
ทางสหโภชน์จะสำรวจคนที่อยู่เรือและทำอาหารให้พอทุกวัน แต่บางส่วนก็จะไปหากินเองบ้าง
เวลาออกเดินทาง หรือ ออกราชการทะเล อาหารก็จะจัดให้กินคล้ายกับเรือจอดครับ
มีเพิ่มขึ้นมาคืออาหารของยามเรือเดินมื้อดึกด้วย (มื้อเที่ยงคืน) การทานอาหารของทุกคน
จะจัดใว้ตักใว้เป็นวง คือวงละประมาณ 5 - 7 คน หรือเรือบางลำก็จะตักใว้ให้ในถาดหลุมครับ
ส่วนของนายทหารสัญญาบัตร ก็จะตักใว้เป็นวงเช่นกัน ทุกคนทานพร้อมกันครับ
สำหรับคำถามของน้อง Prince ข้อนี้ ที่ถามว่าทางเรือจัดอาหารให้กินแบบใหนบ้าง
พี่ขออธิบายละเอียดแบบยาวมาก ทุกท่านเชิญอ่านใน Spoil ครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เรือรบของไทย ปกติจะสำรองอาหารในเรือไว้ออกทะเล แบบเร่งด่วนกรณีเกิดสงคราม หรือภัยพิบัติ มากน้อยแค่ไหน.
ปกติแล้ว เรือรบจะมีห้องเย็นสำหรับเก็เสบียงอาหารสำรองได้ 45 - 60 วัน เป็นอย่างมากครับ
แต่ในทางปฏิบัติที่ผ่านมาเมื่อเกิดภัยพิบัติที่จะต้องไปลอยลำ standby ช่วยเหลือประชาชน
ก็ยังมีโอกาสที่จะจ่ายเสบียงได้ครับ ดังนั้นในทางปฏิบัติก็จะจ่ายเสบียงมาเก็บใว้แค่ 5 - 10 วัน
เป็นอย่างมาก ส่วนกรณีสงครามนั้น ระเบียบปฏิบัติก็จะต้องขึ้นกับกรมส่งกำลังบำรุงทหารเรือ
ว่าสถานการณ์ขณะนั้นมีความเร่งด่วนเพียงใด ต้องจ่ายเสบียงในอัตราใด
แบบมีติดเรือไว้ตลอดถ้าไม่มีอะไร ไม่มีสงครามก็ทำกิน กับบนเรือ ใช้อาหารที่เก็บไว้บนเรือ
ทำกินกันไปเรื่อยๆ พอหมดก็เบิกใหม่ หรือไม่
จะไม่มีการติดอาหารใว้ในเรือครับ สิ่งที่จะเก็บใว้ได้นาน และ มาก คือข้าวสาร น้ำจืด และ เครื่องปรุง (น้ำปลา น้ำตาล เกลือ)
ส่วนของสดทุกประเภทจะวางแผนจ่ายเสบียงทุก 3 5 หรือ 10 วัน แล้วแต่ภารกิจขณะนั้นครับ
ปกติ ทหารเรือได้กินอาหารบนเรือ ยามปกติ หรือต้องซื้อกินเองในค่าย ในหน่วย
แล้วเวลาออกเดินทาง ไปทำภารกิจต่าง หรือลาดตระเวณเค้าจะจัดอาหาร แต่ละวัน ให้กินแบบไหนบ้าง
กินรวมกัน หรือแยกเป็นจานหรือ เอาเบี้ยเลี้ยงมาตีเป็นค่าอาหารแล้วพ่อครัวทำให้กิน
หากเรือจอด (ไม่มีภารกิจ) ทหารเรือทุกคนก็จะได้กินอาหารบนเรือทุกมื้อครับ เพราะตัดเบี้ยเลี้ยงไปแล้ว
ทางสหโภชน์จะสำรวจคนที่อยู่เรือและทำอาหารให้พอทุกวัน แต่บางส่วนก็จะไปหากินเองบ้าง
เวลาออกเดินทาง หรือ ออกราชการทะเล อาหารก็จะจัดให้กินคล้ายกับเรือจอดครับ
มีเพิ่มขึ้นมาคืออาหารของยามเรือเดินมื้อดึกด้วย (มื้อเที่ยงคืน) การทานอาหารของทุกคน
จะจัดใว้ตักใว้เป็นวง คือวงละประมาณ 5 - 7 คน หรือเรือบางลำก็จะตักใว้ให้ในถาดหลุมครับ
ส่วนของนายทหารสัญญาบัตร ก็จะตักใว้เป็นวงเช่นกัน ทุกคนทานพร้อมกันครับ
สำหรับคำถามของน้อง Prince ข้อนี้ ที่ถามว่าทางเรือจัดอาหารให้กินแบบใหนบ้าง
พี่ขออธิบายละเอียดแบบยาวมาก ทุกท่านเชิญอ่านใน Spoil ครับ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แสดงความคิดเห็น
เรือรบของไทย ปกติจะสำรองอาหารในเรือไว้ออกทะเล แบบเร่งด่วนกรณีเกิดสงคราม หรือภัยพิบัติ มากน้อยแค่ไหน. แบบมีติดเรือไว้ตลอด
ก็ทำกิน กับบนเรือ ใช้อาหารที่เก็บไว้บนเรือ ทำกินกันไปเรื่อยๆ พอหมดก็เบิกใหม่ หรือไม่
ปกติ ทหารเรือได้กินอาหารบนเรือ ยามปกติ หรือต้องซื้อกินเองในค่าย ในหน่วย
กินอิ่ม มีความพร้อมรบ