สวัสดีครับ เพิ่งผ่านพ้นวันไหว้ตรุษจีนไปเมื่อวาน วันนี้วันเที่ยวไม่ได้ไปไหน มาโพสกระทู้แบ่งปันความรู้กันดีกว่า
วันนี้ผมจะมาพูดถึงเลนส์มือหมุนตัวนึง นั่นก็คือ Meyer Optik Gorlitz Oreston 50mm 1.8 m42 Zebra ก่อนหน้านี้ผมเคยรีวิวเลนส์ตัวนี้แต่อยู่ใน Generation2 ของเขา จะมีความต่างในส่วน Body และ ค่ารูรับแสง
มาลองดูประวัติของ Meyer แบบคร่าวๆ [**ข้อมูลได้จากการรวบรวมของผมเองผิดพลาดประการใดต้องขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ**]
1896 – บริษัทถูกจัดตั้งในปี 1896 โดย Hugo Meyer ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเลนส์ และ Heinrich Sch?tze
1990 – บริษัทได้จดสิทธิบัตร Aristostigmat lens [เลนส์ Wide Angle]
1911 - บริษัทถูกซื้อกิจการโดย Optische Anstalt Schulze und Billerbeck หรือ โรงงานที่เป็นทีมีชื่อเสียงในการผลิต Euryplan lenses
1920 – บริษัทได้ Paul Rudolph มาร่วมงาน นักฟิสิกษ์หัวกะทิผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของเลนส์ Ziess ชื่อดังรุ่นต่างๆเช่น Protar,Planar,Tessar Paul Rudolph ได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับ Meyer เกี่ยวกับเลนส์ที่เขาเป็นเจ้าของสิทธิ์บัตรอยู่ ในนามว่า Plasmat lenses [เลนส์ของกล้อง Large Format]
1923 - โรงงานขยับขยายฐานการผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงเป็นผู้ผลิตเลนสู่ Supplier ทั้งหลายเป็นจำนวนมาก
1930 - ในปีนี้ Meyer-Optik-Gorlitz ได้ผลิตเลนส์คุณภาพสูงหลายรุ่น และว่ากันว่ามีราคาถูกกว่า Ziess แต่คุณภาพใกล้เคียงกัน
1936 - เปลี่ยนชื่อบริษัทอีกครั้งเป็น Optische und Feinmechanische Werke Hugo Meyer & Co ในปีนี้ มีกำลังการผลิตชิ้นเลนส์สูงถึงปีละ 100,000 หน่วยต่อปี
1942 – เกิดสงครามโลกประชาชนรวมถึงพนักงานได้รับผลกระทบจากสงคราม และในปีนี้ บริษัทผลิตเลนส์ Telescope เป็นหลัก
1945 – หลังจากได้รับผลกระทบจากสงคราม โรงงานได้ย้ายฐานการผลิตไปที่เมือง Gr?nhainichen แต่ในปี 1945 ก็ได้ย้ายกลับมาที่เมือง G?rlitz
1946 – กลุ่มรัฐบาลของรัฐเซียที่เข้ามาครอบครองเยอรมันในช่วงหลังสงคราม หรือในนามกลุ่ม VEB ได้เข้ามายึดครองโรงงาน โรงงานได้รับความเสียหายหลายอย่างจากสงคราม มีเลนส์ถูกยึดด้วยเช่นกัน
1948 – โรงงานหยุดการผลิตชั่วคราว หลังจากรัฐเซียเข้ามายึดครองได้สักระยะ ก็เริ่มปล่อยให้โรงงานได้เดินสายการผลิตอีกครั้ง
1949 – เป็นปีที่เลนส์ Meyer รุ่น Helioplan ถูกผลิต
1952 – เป็นครั้งแรกที่มีการเคลือบโค้ทเลนส์ด้วย magnesium fluoride ในปีนี้เป็นปีที่บริษัทผลิตเลนส์รุ่น Trioplan เพื่อส่งให้โรงงานกล้องต่างๆ
1959 – จดสิทธิบัตรประจำชาติเยอรมัน เกี่ยวกับการเลนส์ไวแสง
1961 – จดสิทธ์บัตรเกี่ยวกับชิ้นเลนส์พิเศษสำหรับเลนส์ Telephoto
1964 – จดสิทธิเกี่ยวกับเลนส์ที่สร้างจากพลาสติกสี่ชิ้น
1990-1991 – บริษัท Feinoptische Werk G?rlitz ได้ออกจากกลุ่ม VEB มาเป็นเอกเทศและยังใช้โลโก้บริษัท Meyer-Optik
แม้จะมีความพยายามในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (privatization) บริษัทก็ยังไม่สามารถดึงดูนักลงทุนได้นัก Feinoptische Werk G?rlitz จึงต้องทำการชำระหนี้โดย Treuhandanstalt
(หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจก่อนหน้า East German enterprises) ในวันที่ 30 มิถุนายน 1991
2014 – กันยายา ได้เปิดตัวเลนส์ใหม่ในชื่อเดิม Meyer-Optik-G?rlitz ในงาน Photokina และเริ่มมีการส่งมอบให้ลูกค้าในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน
ชื่อรุ่นต่างๆที่ใช้เลนส์จาก Meyer
- Aristoplan
- Aristogmat
- Aristostigmat
- Diaplan (projection lens)
- Double Plasmat
- Domiplan
- Doppelanastigmat
- Doppelplasmat / Double-Plasmat
- Epidon
- Euryplan
- Euryplan-Satz
- Helioplan
- Kinon Superior (projection lens)
- Kino-Plasmat and Kinoplasmat
- Lydith
- Makroplasmat
- Megon
- Omin (projection lens)
- Orestegon
- Orestegor
- Oreston
- Orestor
- Orestor
- Plasmat
- Plasmat-Satz
- Primagon
- Primoplan
- Primotar
- Repro-Plasmat
- Satz Plasmat and Satzplasmat
- Telefogar
- Tele-Megor and Telemegor
- Trioplan
- Triotar
- Veraplan
ตอนผมเห็นโปสเตอร์ครั้งแรกตกใจมากครับ อ่านภาษาเยอรมันไม่ออก
Gen2
ส่วนเจ้าตัวนี้เป็นตัว Generation แรกของ Meyer Optik Gorlitz Oreston 50mm 1.8 เป็นเลนส์สัญชาติเยอรมัน ในยุคนั้นโรงงานของ Meyer จะตั้งอยู่ทางโซนเยอรมันตะวันออก ผลิตในปี 1964 เอามาบวกลบคูณหารกับเวลาที่กำลังเขียนบทความนี้ก็ล่อไป 53 ขวบ เข้าแล้ว เจ้าตัว Genแรกนี้จะมีค่ารูรับแสงเพิ่มขึ้น คือ Gen1 1.8 - 22 , Gen2 1.8 - 16 เรามาลองดูหน้าตากันครับ
หน้าเลนส์มีขนาด 49mm
บอดี้ของ Genแรก จะมีสีเงินสลับดำ หรือคนไทยเรียกว่าม้าลาย [ฝรั่งเรียก Zebra]
เลนส์ตัวนี้ถูกผลิตออกมา 2 Mount นั่นก็คือ M42 และ Exakta แต่ตัวนี้คือ M42 มีเดือยโผล่มาแนะนำให้ใช้กับ Adaptor แบบมีบ่าจะดีที่สุด
มีปุ่มเล็กๆอยู่ด้านข้าง ไม่แน่ใจว่าเอาไว้ทำอะไร เห็นเว็บนอกบอกว่าเอาไว้เช็คชัดลึกในกล้องฟิลม์
ระยะเข้าใกล้แบบได้มากสุดอยู่ที่ 0.33 เมตร หรือ 1.1ฟุต [ft]
ลายบนลายล่างเลย ด้านบนไว้หมุนโฟกัส ด้านล่างปรับค่ารูรับแสง
ใบเบลดรูรับแสง เปิดกว้างสุด1.8 จะเป็นกลมๆ เมื่อหรี่จะเป็นหกเหลี่ยมแบบมุมแหลมๆเปี้ยวเลยทีเดียว
หรี่รูรับแสงแคบๆ
ภาพตัวอย่างจากเลนส์ตัวนี้ [ภาพไม่แต่งแค่ย่อและใส่ชื่อ]
*ผมถ่ายด้วยกล้อง Olympus OMD EM1 ,OMD EM5, PenF , Panasonic GX7 และ Fujigilm XE1
[กล้องผมจริงๆแค่สอง ที่เหลือเพื่อนให้ยืมมาลองเล่น]
ภาพจากเลนส์ตัวเดียวกันนี้ หากถ่ายด้วยกล้องที่เซนเซอร์ต่างขนาดกันไปเช่น M43,APSC หรือ FullFrame
อาจจะได้ลักษณะโบเก้ที่ไม่เหมือนกันซะทีเดียวครับ เรียกว่าต่างเซนเซอร์โบเก้ไม่เหมือนกัน
แต่โทนของภาพจะเคียงกันครับ*
เมื่อเปิดรูรับแสงกว้างสุดโบเก้จะกลม เป็นเหมือนฟองสบู่แต่ไม่เด่นเกินแบบ
เมื่อหรี่รูรับแสงโบเก้จะเป็นหกเหลี่ยม หากเจอการสะท้อนแสง จะเกิดไฟแฉกได้ตั้งแต่ F4
ย้อนแสงเจอแฟลรแบบนี้ ส่วนตัวผมไม่ค่อยชอบแฟลรแบบนี้ แต่ไม่ได้แปลว่ามันไม่ดีนะครับ บางคนชอบก็มีครับ
ให้ภาพขาวดำได้ดี ไม่มีโค้ดเลนส์ใดๆทั้งสิ้น
ข้อความเต็มขอไปต่อที่ความเห็นที่ 1 นะครับ
เลนส์เก่า เล่าใหม่ #1 Meyer Optik Gorlitz Oreston 50mm 1.8 M42 Zebra
วันนี้ผมจะมาพูดถึงเลนส์มือหมุนตัวนึง นั่นก็คือ Meyer Optik Gorlitz Oreston 50mm 1.8 m42 Zebra ก่อนหน้านี้ผมเคยรีวิวเลนส์ตัวนี้แต่อยู่ใน Generation2 ของเขา จะมีความต่างในส่วน Body และ ค่ารูรับแสง
มาลองดูประวัติของ Meyer แบบคร่าวๆ [**ข้อมูลได้จากการรวบรวมของผมเองผิดพลาดประการใดต้องขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ**]
1896 – บริษัทถูกจัดตั้งในปี 1896 โดย Hugo Meyer ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเลนส์ และ Heinrich Sch?tze
1990 – บริษัทได้จดสิทธิบัตร Aristostigmat lens [เลนส์ Wide Angle]
1911 - บริษัทถูกซื้อกิจการโดย Optische Anstalt Schulze und Billerbeck หรือ โรงงานที่เป็นทีมีชื่อเสียงในการผลิต Euryplan lenses
1920 – บริษัทได้ Paul Rudolph มาร่วมงาน นักฟิสิกษ์หัวกะทิผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของเลนส์ Ziess ชื่อดังรุ่นต่างๆเช่น Protar,Planar,Tessar Paul Rudolph ได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับ Meyer เกี่ยวกับเลนส์ที่เขาเป็นเจ้าของสิทธิ์บัตรอยู่ ในนามว่า Plasmat lenses [เลนส์ของกล้อง Large Format]
1923 - โรงงานขยับขยายฐานการผลิตเพิ่มขึ้น รวมถึงเป็นผู้ผลิตเลนสู่ Supplier ทั้งหลายเป็นจำนวนมาก
1930 - ในปีนี้ Meyer-Optik-Gorlitz ได้ผลิตเลนส์คุณภาพสูงหลายรุ่น และว่ากันว่ามีราคาถูกกว่า Ziess แต่คุณภาพใกล้เคียงกัน
1936 - เปลี่ยนชื่อบริษัทอีกครั้งเป็น Optische und Feinmechanische Werke Hugo Meyer & Co ในปีนี้ มีกำลังการผลิตชิ้นเลนส์สูงถึงปีละ 100,000 หน่วยต่อปี
1942 – เกิดสงครามโลกประชาชนรวมถึงพนักงานได้รับผลกระทบจากสงคราม และในปีนี้ บริษัทผลิตเลนส์ Telescope เป็นหลัก
1945 – หลังจากได้รับผลกระทบจากสงคราม โรงงานได้ย้ายฐานการผลิตไปที่เมือง Gr?nhainichen แต่ในปี 1945 ก็ได้ย้ายกลับมาที่เมือง G?rlitz
1946 – กลุ่มรัฐบาลของรัฐเซียที่เข้ามาครอบครองเยอรมันในช่วงหลังสงคราม หรือในนามกลุ่ม VEB ได้เข้ามายึดครองโรงงาน โรงงานได้รับความเสียหายหลายอย่างจากสงคราม มีเลนส์ถูกยึดด้วยเช่นกัน
1948 – โรงงานหยุดการผลิตชั่วคราว หลังจากรัฐเซียเข้ามายึดครองได้สักระยะ ก็เริ่มปล่อยให้โรงงานได้เดินสายการผลิตอีกครั้ง
1949 – เป็นปีที่เลนส์ Meyer รุ่น Helioplan ถูกผลิต
1952 – เป็นครั้งแรกที่มีการเคลือบโค้ทเลนส์ด้วย magnesium fluoride ในปีนี้เป็นปีที่บริษัทผลิตเลนส์รุ่น Trioplan เพื่อส่งให้โรงงานกล้องต่างๆ
1959 – จดสิทธิบัตรประจำชาติเยอรมัน เกี่ยวกับการเลนส์ไวแสง
1961 – จดสิทธ์บัตรเกี่ยวกับชิ้นเลนส์พิเศษสำหรับเลนส์ Telephoto
1964 – จดสิทธิเกี่ยวกับเลนส์ที่สร้างจากพลาสติกสี่ชิ้น
1990-1991 – บริษัท Feinoptische Werk G?rlitz ได้ออกจากกลุ่ม VEB มาเป็นเอกเทศและยังใช้โลโก้บริษัท Meyer-Optik
แม้จะมีความพยายามในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (privatization) บริษัทก็ยังไม่สามารถดึงดูนักลงทุนได้นัก Feinoptische Werk G?rlitz จึงต้องทำการชำระหนี้โดย Treuhandanstalt
(หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการแปรรูปรัฐวิสาหกิจก่อนหน้า East German enterprises) ในวันที่ 30 มิถุนายน 1991
2014 – กันยายา ได้เปิดตัวเลนส์ใหม่ในชื่อเดิม Meyer-Optik-G?rlitz ในงาน Photokina และเริ่มมีการส่งมอบให้ลูกค้าในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน
ชื่อรุ่นต่างๆที่ใช้เลนส์จาก Meyer
- Aristoplan
- Aristogmat
- Aristostigmat
- Diaplan (projection lens)
- Double Plasmat
- Domiplan
- Doppelanastigmat
- Doppelplasmat / Double-Plasmat
- Epidon
- Euryplan
- Euryplan-Satz
- Helioplan
- Kinon Superior (projection lens)
- Kino-Plasmat and Kinoplasmat
- Lydith
- Makroplasmat
- Megon
- Omin (projection lens)
- Orestegon
- Orestegor
- Oreston
- Orestor
- Orestor
- Plasmat
- Plasmat-Satz
- Primagon
- Primoplan
- Primotar
- Repro-Plasmat
- Satz Plasmat and Satzplasmat
- Telefogar
- Tele-Megor and Telemegor
- Trioplan
- Triotar
- Veraplan
ตอนผมเห็นโปสเตอร์ครั้งแรกตกใจมากครับ อ่านภาษาเยอรมันไม่ออก
Gen2
ส่วนเจ้าตัวนี้เป็นตัว Generation แรกของ Meyer Optik Gorlitz Oreston 50mm 1.8 เป็นเลนส์สัญชาติเยอรมัน ในยุคนั้นโรงงานของ Meyer จะตั้งอยู่ทางโซนเยอรมันตะวันออก ผลิตในปี 1964 เอามาบวกลบคูณหารกับเวลาที่กำลังเขียนบทความนี้ก็ล่อไป 53 ขวบ เข้าแล้ว เจ้าตัว Genแรกนี้จะมีค่ารูรับแสงเพิ่มขึ้น คือ Gen1 1.8 - 22 , Gen2 1.8 - 16 เรามาลองดูหน้าตากันครับ
หน้าเลนส์มีขนาด 49mm
บอดี้ของ Genแรก จะมีสีเงินสลับดำ หรือคนไทยเรียกว่าม้าลาย [ฝรั่งเรียก Zebra]
เลนส์ตัวนี้ถูกผลิตออกมา 2 Mount นั่นก็คือ M42 และ Exakta แต่ตัวนี้คือ M42 มีเดือยโผล่มาแนะนำให้ใช้กับ Adaptor แบบมีบ่าจะดีที่สุด
มีปุ่มเล็กๆอยู่ด้านข้าง ไม่แน่ใจว่าเอาไว้ทำอะไร เห็นเว็บนอกบอกว่าเอาไว้เช็คชัดลึกในกล้องฟิลม์
ระยะเข้าใกล้แบบได้มากสุดอยู่ที่ 0.33 เมตร หรือ 1.1ฟุต [ft]
ลายบนลายล่างเลย ด้านบนไว้หมุนโฟกัส ด้านล่างปรับค่ารูรับแสง
ใบเบลดรูรับแสง เปิดกว้างสุด1.8 จะเป็นกลมๆ เมื่อหรี่จะเป็นหกเหลี่ยมแบบมุมแหลมๆเปี้ยวเลยทีเดียว
หรี่รูรับแสงแคบๆ
ภาพตัวอย่างจากเลนส์ตัวนี้ [ภาพไม่แต่งแค่ย่อและใส่ชื่อ]
*ผมถ่ายด้วยกล้อง Olympus OMD EM1 ,OMD EM5, PenF , Panasonic GX7 และ Fujigilm XE1
[กล้องผมจริงๆแค่สอง ที่เหลือเพื่อนให้ยืมมาลองเล่น]
ภาพจากเลนส์ตัวเดียวกันนี้ หากถ่ายด้วยกล้องที่เซนเซอร์ต่างขนาดกันไปเช่น M43,APSC หรือ FullFrame
อาจจะได้ลักษณะโบเก้ที่ไม่เหมือนกันซะทีเดียวครับ เรียกว่าต่างเซนเซอร์โบเก้ไม่เหมือนกัน
แต่โทนของภาพจะเคียงกันครับ*
เมื่อเปิดรูรับแสงกว้างสุดโบเก้จะกลม เป็นเหมือนฟองสบู่แต่ไม่เด่นเกินแบบ
เมื่อหรี่รูรับแสงโบเก้จะเป็นหกเหลี่ยม หากเจอการสะท้อนแสง จะเกิดไฟแฉกได้ตั้งแต่ F4
ย้อนแสงเจอแฟลรแบบนี้ ส่วนตัวผมไม่ค่อยชอบแฟลรแบบนี้ แต่ไม่ได้แปลว่ามันไม่ดีนะครับ บางคนชอบก็มีครับ
ให้ภาพขาวดำได้ดี ไม่มีโค้ดเลนส์ใดๆทั้งสิ้น
ข้อความเต็มขอไปต่อที่ความเห็นที่ 1 นะครับ