พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.๒๕๖๐
ห้ามเจ้าหนี้ เรียกเก็บดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปี มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกินสองแสนบาท
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9600000004722
ฉะนั้น บรรดาเจ้าหนี้นอกระบบทั้งหลาย โดนแน่
แต่ที่คาใจครับ ว่ากฎหมายนี้จะบังคับใช้กับ "นาโนไฟแนนซ์" ได้หรือไม่ ?
นาโนไฟแนนซ์ หรือพวกอีออน อีซี่บาย ฯลฯ
เหล่านี้ เรียกเก็บดอกเบี้ยเกินกฎหมายกำหนดทั้งนั้น
แต่ไม่เรียกว่าดอกเบี้ย เรียกว่า อัตราดอกเบี้ย + ค่าธรรมเนียม + ค่าดำเนินการ + ค่าปรับ
ซึ่งกฎหมายให้เก็บได้ไม่เกินร้อยละ 36
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.zcooby.com/nano-finace-faq-detail/
ก็งง ก็สงสัย ก็คาใจสิครับ
แบบนี้ เจ้าหนี้นอกระบบทั้งหลายโดน
แต่บรรดานายทุนทั้งตั้งบริษัทหากินร้อยละ 36 กลับได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายซะงั้น
ทั้งที่ความจริงแล้ว การทำมาหากินไม่ต่างกันเลย
อย่าเปรียบเทียบนะครับ ว่าเจ้าหนี้นอกระบบนั้น ไม่มีค่าดำเนินการ แค่ปล่อยกู้ง่าย ๆ แล้วรีดดอกเบี้ย
ขณะที่บริษัทเงินกู้ทั้งหลาย มีค่าดำเนินการ มีการจ้างงาน ฯลฯ จึงต้องเรียกเก็บค่าต่าง ๆ ในการดำเนินการ
เพราะวงเงินต่างกันครับ
เจ้าหนี้เงินกู้นอกระบบน่ะ โดยทั่วไปแค่หลักหมื่น หลักแสน หรือหลักล้านและหลายล้านเท่านั้น
ที่เป็นข่าวดังเรื่องเจ้าหนี้นอกระบบที่หนีคดีอยู่ตอนนี้ ก็ถือว่าเป็นกรณีพิเศษ แต่ก็แค่หลักหลายพันล้าน
แต่พวกบริษัทเงินกู้ทั้งหลายน่ะ หลักหมื่น หลักแสนล้านครับ
ต่อให้มีค่าดำเนินการแค่ไหน ก็กำไรปีละมหาศาล เพราะได้กำไรตั้ง 36%
มีธุรกิจอะไรจะได้กำไรมหาศาลขนาดนี้
สงสัยไปงั้นแหละครับ
สงสัยและคาใจครับ กับกฎหมายห้ามเก็บดอกเบี้ยเกินอัตรา ที่ สนช. ผ่าน และมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
ห้ามเจ้าหนี้ เรียกเก็บดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปี มีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกินสองแสนบาท
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ฉะนั้น บรรดาเจ้าหนี้นอกระบบทั้งหลาย โดนแน่
แต่ที่คาใจครับ ว่ากฎหมายนี้จะบังคับใช้กับ "นาโนไฟแนนซ์" ได้หรือไม่ ?
นาโนไฟแนนซ์ หรือพวกอีออน อีซี่บาย ฯลฯ
เหล่านี้ เรียกเก็บดอกเบี้ยเกินกฎหมายกำหนดทั้งนั้น
แต่ไม่เรียกว่าดอกเบี้ย เรียกว่า อัตราดอกเบี้ย + ค่าธรรมเนียม + ค่าดำเนินการ + ค่าปรับ
ซึ่งกฎหมายให้เก็บได้ไม่เกินร้อยละ 36
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ก็งง ก็สงสัย ก็คาใจสิครับ
แบบนี้ เจ้าหนี้นอกระบบทั้งหลายโดน
แต่บรรดานายทุนทั้งตั้งบริษัทหากินร้อยละ 36 กลับได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายซะงั้น
ทั้งที่ความจริงแล้ว การทำมาหากินไม่ต่างกันเลย
อย่าเปรียบเทียบนะครับ ว่าเจ้าหนี้นอกระบบนั้น ไม่มีค่าดำเนินการ แค่ปล่อยกู้ง่าย ๆ แล้วรีดดอกเบี้ย
ขณะที่บริษัทเงินกู้ทั้งหลาย มีค่าดำเนินการ มีการจ้างงาน ฯลฯ จึงต้องเรียกเก็บค่าต่าง ๆ ในการดำเนินการ
เพราะวงเงินต่างกันครับ
เจ้าหนี้เงินกู้นอกระบบน่ะ โดยทั่วไปแค่หลักหมื่น หลักแสน หรือหลักล้านและหลายล้านเท่านั้น
ที่เป็นข่าวดังเรื่องเจ้าหนี้นอกระบบที่หนีคดีอยู่ตอนนี้ ก็ถือว่าเป็นกรณีพิเศษ แต่ก็แค่หลักหลายพันล้าน
แต่พวกบริษัทเงินกู้ทั้งหลายน่ะ หลักหมื่น หลักแสนล้านครับ
ต่อให้มีค่าดำเนินการแค่ไหน ก็กำไรปีละมหาศาล เพราะได้กำไรตั้ง 36%
มีธุรกิจอะไรจะได้กำไรมหาศาลขนาดนี้
สงสัยไปงั้นแหละครับ