ในขันธ์5 สติคือสังขาร
ภิกษุ ! ความดับแห่งสังขารโดยลําดับๆ เราได้กล่าวแล้ว ดังนี้ คือ :-
เมื่อเข้าสู่ ปฐมฌาน แล้ว วาจา ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้ว วิตก และ วิจาร ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ ตติยฌาน แล้ว ปีติ ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ จตุตถฌาน แล้ว อัสสาสะ และ ปัสสาสะ ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ อากาสานัญจายตนะ แล้ว
รูปสัญญา ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่
วิญญาณัญจายตนะ แล้ว อากาสานัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ แล้ว วิญญาณัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้ว อากิญจัญญายตนสัญญา ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว
สัญญา และ
เวทนา ย่อมดับ ;
มีสติอยู่
เมื่อภิกษุ สิ้นอาสวะ แล้ว ราคะ ก็ดับ โทสะ ก็ดับ โมหะ ก็ดับ
ฌาณ1-4ดับ
สติยังอยู่
อรูปฌาณ5
รูปดับ สติยังอยู่
อรูปฌาณ
สัญญา ดับ สติยังอยู่
สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว
สัญญา และ เวทนา ย่อมดับ ; สติยังอยู่
ขันธ์5 รูป ดับ สัญญาดับ เวทนาดับ วิญญาณดับ สติยังอยู่
สังขารยังอยู่ สติยังอยู่
สติอยู่ที่สังขาร
สติเป็นสิ่งที่นำจิตไปสู่วิมุติ
สติเป็นเครื่องแล่นไปสู่วิมุติ
มีผู้วิเคราะห์ไว้เช่นนี้
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๔
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๑๘
สุตฺตนฺตปิฏเก สํยุตฺตนิกายสฺส สฬายตนวคฺโค
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๑๙
สุตฺตนฺตปิฏเก สํยุตฺตนิกายสฺส มหาวารวคฺโค
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๒๕
สุตฺตนฺตปิฏเก ขุทฺทกนิกายสฺส ขุทฺทกปาฐ-ธมฺมปทคาถา-อุทานํ-อิติวุตฺตกํ-สุตฺตนิปาตา
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๓๐
สุตฺตนฺตปิฏเก ขุทฺทกนิกายสฺส จูฬนิทฺเทโส
ฌาณพระพุทธเจ้ารู้สติเกิด ดับ อยู่ตลอดเวลา สติ ในขันธ์5สติอยู่ที่ไหน?
ภิกษุ ! ความดับแห่งสังขารโดยลําดับๆ เราได้กล่าวแล้ว ดังนี้ คือ :-
เมื่อเข้าสู่ ปฐมฌาน แล้ว วาจา ย่อมดับ ; มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้ว วิตก และ วิจาร ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ ตติยฌาน แล้ว ปีติ ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ จตุตถฌาน แล้ว อัสสาสะ และ ปัสสาสะ ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ อากาสานัญจายตนะ แล้ว รูปสัญญา ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ วิญญาณัญจายตนะ แล้ว อากาสานัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ อากิญจัญญายตนะ แล้ว วิญญาณัญจายตนสัญญา ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ แล้ว อากิญจัญญายตนสัญญา ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อเข้าสู่ สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว สัญญา และ เวทนา ย่อมดับ ;มีสติอยู่
เมื่อภิกษุ สิ้นอาสวะ แล้ว ราคะ ก็ดับ โทสะ ก็ดับ โมหะ ก็ดับ
ฌาณ1-4ดับ สติยังอยู่
อรูปฌาณ5 รูปดับ สติยังอยู่
อรูปฌาณ สัญญา ดับ สติยังอยู่
สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้ว สัญญา และ เวทนา ย่อมดับ ; สติยังอยู่
ขันธ์5 รูป ดับ สัญญาดับ เวทนาดับ วิญญาณดับ สติยังอยู่
สังขารยังอยู่ สติยังอยู่
สติอยู่ที่สังขาร
สติเป็นสิ่งที่นำจิตไปสู่วิมุติ
สติเป็นเครื่องแล่นไปสู่วิมุติ
มีผู้วิเคราะห์ไว้เช่นนี้
พระไตรปิฎก ไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ ๑๔
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๑๘
สุตฺตนฺตปิฏเก สํยุตฺตนิกายสฺส สฬายตนวคฺโค
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๑๙
สุตฺตนฺตปิฏเก สํยุตฺตนิกายสฺส มหาวารวคฺโค
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๒๕
สุตฺตนฺตปิฏเก ขุทฺทกนิกายสฺส ขุทฺทกปาฐ-ธมฺมปทคาถา-อุทานํ-อิติวุตฺตกํ-สุตฺตนิปาตา
พระไตรปิฎก บาลี (สยามรัฐ) เล่มที่ ๓๐
สุตฺตนฺตปิฏเก ขุทฺทกนิกายสฺส จูฬนิทฺเทโส